แผนภูมิที่ทำหน้าที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ค่าของแรง และ ค่าของการเคลื่อนที่ หรือที่เรานิยมเรียกกันในภาษาอังกฤษว่า HYSTERESIS GRAPH

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตพาเพื่อนๆ ทุกคนไปเรียนรู้กันต่อถึงเรื่อง แผนภูมิที่ทำหน้าที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ค่าของแรง และ ค่าของการเคลื่อนที่ หรือที่เรานิยมเรียกกันในภาษาอังกฤษว่า HYSTERESIS GRAPH กันต่อเป็นโพสต์สุดท้ายของช่วงๆ นี้ก่อนที่เราจะขยับไปถึงเรื่องหรือหัวข้ออื่นๆ ต่อไปนะครับ   โดยเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้เล่าให้เพื่อนๆ … Read More

ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการแนะนำและให้คำอธิบายแก่เพื่อนๆ ทุกคนได้มีความรู้พื้นฐานรวมไปถึงการทำความรู้จักกันกับค่าๆ หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กันกับการเจาะสำรวจดินโดยตรงค่าหนึ่งนั่นก็คือ ค่าสัดส่วนความปลอดภัยในการออกแบบเสาเข็ม นั่นเองนะครับ   ถูกต้องครับ ตัวผมนั้นเคยพูดถึงค่าๆ นี้ไปแล้วหลายครั้งแล้วเช่นกัน แต่ ไหนๆ … Read More

โครงสร้างทางเดินที่อยู่ภายนอกอาคาร ที่วางอยู่โดยตรงบนดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาเล่าปัญหาอย่างหนึ่งที่พวกเรามักจะเจออยู่กันเป็นประจำทุกครั้งที่ทำการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน จนในที่สุดบางคนก็เห็นจนเป็นเรื่องคุ้นชินกันไปซะแล้ว นั่นก็คือ การที่โครงสร้างทางเดินที่อยู่ภายนอกอาคารนั้นไม่ใช่โครงสร้างที่ฝากเอาไว้บนโครงสร้างที่มีเสาเข็ม แต่ เป็นโครงสร้างที่วางอยู่โดยตรงบนดิน และ โครงสร้างดังกล่าวเกิดการทรุดตัวลงไปจนทำให้ส่วนที่เป็นมุมทางเดินนั้นเกิดการแตกหรือหักลงไป นั่นเองนะครับ   กรณีมักจะเกิดขึ้นกับ บ้านเรือน หรือ อาคาร … Read More

ประเภทการเก็บตัวอย่างของดิน เมื่อได้ทำการเจาะสำรวจดินขึ้นมา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบถึงเรื่อง ประเภทของการเก็บตัวอย่างของดิน เมื่อเราได้ทำการเจาะสำรวจดินขึ้นมาน่ะครับ   โดยที่การเก็บตัวอย่างของดินซึ่งได้จากการที่เรานั้นทำการเจาะสำรวจดินขึ้นมาจะมีอยู่ด้วยกัน 2 ลักษณะใหญ่ๆ ด้วยกันดังต่อไปนี้ครับ   ตัวอย่างของ … Read More

เทคนิคในการออกแบบต่อเติมโครงสร้างโดยใช้วิธีการ PRE-LOADING

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้ผมจะขออนุญาตพูดต่อเนื่องจากในสัปดาห์ที่แล้วที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องเทคนิคๆ หนึ่งที่ผมได้นำมาใช้ในงานต่อเติมโครงสร้างจริงๆ นั่นก็คือ เทคนิคในการออกแบบต่อเติมโครงสร้างโดยใช้วิธีการ PRE-LOADING ทั้งนี้ก็เพื่อที่เราจะอาศัยโครงสร้างเสาเข็มที่อาจจะมีความลึกไม่มาก กล่าวคือความลึกอาจจะไม่ถึงชั้นดินทราย แต่ ผลกระทบในเรื่องของการทรุดตัวนั้นมีน้อยกว่ากรณีที่ไม่ทำโดยอาศัยเทคนิควิธีการดังกล่าวนี้   ก่อนอื่นเรามาทวนกันสักนิดเกี่ยวกับเรื่องหลักของการทำ … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบ ที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน โดยที่คำถามที่ผมได้เลือกมานั้นจะเป็นหนึ่งในหัวข้อที่ผมได้ทำการโพสต์ไปในสัปดาห์ที่ผ่านมานั่นก็คือเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ โดยที่ใจความของคำถามในวันนี้คือ หากผมมีอาคารที่มีขนาดความสูงเท่ากับ 2 ชั้น ซึ่งมีค่า คาบการสั่นตามธรรมชาติ หรือ NATURAL PERIOD เท่ากับ 0.20 วินาที และ หากทำการคำนวณหาค่าความถี่ตามธรรมชาติ หรือ NATURAL … Read More

เทคนิคการออกแบบต่อเติมโครงสร้างโดยใช้วิธีการ PRE-LOADING

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้เนื้อหานั้นจะเกี่ยวข้องกับเทคนิคๆ หนึ่งที่ผมได้นำมาใช้ในงานต่อเติมโครงสร้างจริงๆ โดยที่เนื้อหานี้มีความน่าสนใจมากในระดับหนึ่งนั่นก็คือ เทคนิคในการออกแบบต่อเติมโครงสร้างโดยใช้วิธีการ PRE-LOADING ทั้งนี้ก็เพื่อที่เราจะอาศัยโครงสร้างเสาเข็มที่อาจจะมีความลึกไม่มาก กล่าวคือความลึกอาจจะไม่ถึงชั้นดินทราย แต่ ผลกระทบในเรื่องของการทรุดตัวนั้นมีน้อยกว่ากรณีที่ไม่ทำโดยอาศัยเทคนิควิธีการดังกล่าวนี้ โดยที่ก่อนอื่นผมจะขออนุญาตกล่าวนำถึงวิธีการและหลักการของเทคนิคๆ นี้ก่อนนะครับ … Read More

ความรู้เกี่ยวกับการเจาะทดสอบชั้นดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะมาร่วมกันเสวนาถึงคำถามที่ผมได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกัน โดยที่คำถามที่ผมได้เลือกมานั้นคือเรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการเจาะทดสอบชั้นดิน โดยที่ใจความของคำถามในวันนี้คือ ผมต้องการที่จะใช้เสาเข็มที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง หรือ D เท่ากับ 400 มม ในการรับ นน ของตัวอาคาร หากว่าผลการทดสอบดินระบุว่า ชั้นดินที่ระดับความลึก 19 ม … Read More

การเตรียมตัวสอบ ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่คำถามที่ผมได้นำมาฝากแก่เพื่อนๆ ในวันนี้จะอยู่ในแขนงวิชา THEORY OF STRUCTURES หรือ ทฤษฎีโครงสร้าง นะครับ   คำถามข้อนี้คือคำถามข้อที่ 18 โดยที่มีใจความของปัญหาข้อนี้มีดังนี้   จากโครง … Read More

ตำหนิของงานเชื่อมเหล็กรูปพรรณ หรือ WELDING DEFECT

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตพาเพื่อนๆ ทุกคนไปทำความรู้จักกันกับ ตำหนิของงานเชื่อมเหล็กรูปพรรณ หรือ WELDING DEFECT นั่นเองนะครับ สาเหตุว่าเพราะเหตุใดเราถึงต้องให้ความสนใจ ตำหนิของงานเชื่อมเหล็กรูปพรรณ นั้นก็เป็นเพราะว่า ตามปกติแล้วหากว่าร่องรอยของการเชื่อมเหล็กรูปพรรณของเรานั้นออกมามีความสมบูรณ์และมีความปกติเรียบร้อยดี จุดต่อนั้นๆ ก็มักที่จะมีความแข็งแรงสมบูรณ์ดี แต่ … Read More

1 11 12 13 14 15 16 17 32