บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็ม ไมโครไพล์ MICROPILE SPUNMICROPILE เสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดย BSP ภูมิสยาม – ต่อเติมในพิ้นที่ที่จำกัด

เสาเข็มไมโครไพล์ MICROPILE SPUNMICROPILE เสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดย BSP ภูมิสยาม – ต่อเติมในพิ้นที่ที่จำกัด ต่อเติมในที่แคบ พื้นที่น้อย แนะนำเสาเข็ม ต่อเติมฐานรากอาคารขนาดใหญ่ แนะนำ เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย … Read More

เหล็กปลอก (STIRRUP)

เหล็กปลอก (Stirrup) คือ เหล็กที่ใช้เสริมอยู่ภายในเสาหรือคานในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก เหล็กที่ใช้ส่วนมากคือคือเหล็กเส้นกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 6 มิลลิเมตร โดยจะดัดเหล็กเส้นเป็นรูปร่างเดียวกับพื้นที่หน้าตัดของเสาหรือคานที่จะใช้ ติดตั้งล้อมรอบเหล็กยืน ตลอดความยาวของโครงสร้างเป็นระยะห่างอย่างสม่ำเสมอ หากเสาคอนกรีตมีแต่แกนเหล็กแต่ไม่มีเหล็กรัดรอบ เมื่อเสารับน้ำหนักจนเกินกำลังที่รับได้ เสาจะเกิดการวิบัติในลักษณะแตกระเบิด ก่อนเกิดการโก่งตัว ดังนั้นเหล็กปลอกจึงช่วยต้านทานการแตกของคอนกรีตภายในได้ เสาจะไม่แตกระเบิด แต่ค่อยๆ โกงตัวจนกระทั่งเกิดการวิบัติในที่สุด เหล็กปลอกเสาที่รัดรอบเหล็กแกนเสา … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE เสาเข็มเพื่อการต่อเติม ต่อเติมบ้าน ต่อเติมข้างบ้าน หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE เสาเข็มเพื่อการต่อเติม ต่อเติมบ้าน ต่อเติมข้างบ้าน หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่มีรูกลมกลวงตรงกลาง เพื่อการระบายดิน สามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ในขณะตอก ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย สามารถตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม. ไม่ทำให้กำแพงเกิดการแตกร้าว และหน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน วันนี้มีภาพการเตรียม … Read More

สำรวจลักษณะของพื้นดินก่อนก่อสร้าง เพื่อป้องกันการทรุดตัวแก่โครงสร้าง

สำรวจลักษณะของพื้นดินก่อนก่อสร้าง เพื่อป้องกันการทรุดตัวแก่โครงสร้าง ฐานรากถือเป็นส่วนสำคัญที่สุดของโครงสร้างง และต้องให้ความสำคัญและใส่ใจเป็นพิเศษ หากไม่สามารถรับน้ำหนักของโคงสร้างได้จะเกิดความเสียหายเป็นอย่ามากกับการก่อสร้าง จึงต้องออกแบบฐานรากให้แข็งแรง ให้มีความเพียงพอที่จะรับน้ำหนักทั้งหมดของโครงสร้างได้ ทั้งนี้การจะก่อสร้างได้นั้น เพื่อให้ได้ฐานรากที่แข็งแรง ควรเจาะสำสภาพของดินดูว่าสามารถรองรับการสร้างอาคารได้หรือไม่ เพราะสภาพของชั้นดิน ณ บริเวณที่ตั้งของอาคารที่เราต้องการทำการออกแบบนั้นจะมีส่วนในการเปลี่ยนแปลงระดับค่าความรุนแรงของการสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวได้ เช่น ชั้นดินอ่อนในเขต กทม จะมีคุณสมบัติที่จะขยาย (AMPLIFY) ขนาดของคลื่นแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวที่จะเดินทางมาจากแหล่งต้นกำเนิดแผ่นดินไหว หรือ … Read More

1 69 70 71 72 73 74 75 169