การประมาณการหาค่าปริมาณพื้นที่หน้าตัดของเหล็กเสริมในหน้าตัดคาน คสล โดยวิธีกำลัง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ วันนี้ผมจะมาแนะนำวิธีและเคล็ดลับในการคำนวณง่ายๆ ให้แก่เพื่อนๆ นะครับ เผื่อจะมีประโยชน์ต่อการทำงานออกแบบของเพื่อนๆ นะครับ วันนี้หัวข้อที่ผมจะมาแนะนำก็คือ การประมาณการหาค่าปริมาณ พท หน้าตัดของเหล็กเสริมในหน้าตัดคาน คสล โดยวิธีกำลังนั่นเองครับ วิธีนี้จะง่ายมากๆ ครับ เหมาะกับเมื่อเราต้องการที่จะหา หรือ ตรวจสอบปริมาณเหล็กเสริมในหน้าตัดคาน คสล แบบเร็วๆ … Read More

คำนิยามความสมดุล และ สถานะของสมดุล (EQUILIBRIUM AND STAGE OF EQUILIBRIUM)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้แอดมินมีนิยามที่น่าสนใจจะมาเล่าให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันนะครับ เรื่องๆ นี้ก็คือ เรื่อง คำนิยามของคำ 2 คำ ก็คือ ความสมดุล และ สถานะของสมดุล (EQUILIBRIUM AND STAGE OF EQUILIBRIUM) นั่นเองครับ … Read More

การคำนวณหาว่าหน้าตัดของผนังรับแรงเฉือน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เมื่อวานนี้ผมได้อธิบายให้เพื่อนๆ ได้รู้จักกับชิ้นส่วนสำคัญในผนังรับแรงเฉือน ซึ่งก็คือ BOUNDARY ELEMENT ไปแล้วนะครับ ก็คาดหมายว่าเพื่อนๆ จะรู้จักกับชิ้นส่วนๆ นี้เมื่อต้องดูแบบวิศวกรรมโครงสร้างนะครับ ในวันนี้ผมจะมาเล่าให้ฟังถึงวิธีการอีกวิธีการหนึ่งในการคำนวณหาว่าหน้าตัดของผนังรับแรงเฉือนที่เราทำการออกแบบนั้นจะต้องการชิ้นส่วนที่เรียกว่า BOUNDARY ELEMENT หรือไม่กันอีกวิธีการหนึ่ง พร้อมกันนี้ผมยังได้อธิบายถึงวิธีในการคำนวณหาขนาดของหน้าตัดของทั้ง 2 วิธีการนี้ด้วยวิธีการพอสังเขปแก่เพื่อนๆ ด้วยนะครับ โพสต์นี้ออกจะยาวสักหน่อยแต่ผมเชื่อว่าน่าจะเป็นประโยชนืต่อเพื่อนๆ … Read More

การ DERIVE ที่มาของค่า Pb

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เมื่อวานนี้ผมได้ทำการ DERIVE ที่มาของค่า Pb ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกัน เพื่อนๆ อาจจะเห็นว่ามีค่า สปส ค่าๆ หนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณ ค่าๆ นั้นก็คือ ค่า β1 นั่นเองครับ ค่า β1 … Read More

เหตุใดทฤษฎีพื้นฐานของการออกแบบหน้าตัดคาน คสล ด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งานจึงมีความสำคัญ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ คน วันนี้ผมจะมาต่อถึงเนื้อหาที่ยังค้างทุกๆ คนนะครับ นั่นก็คือ เหตุใดทฤษฎีพื้นฐานของการออกแบบหน้าตัดคาน คสล ด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งานจึงมีความสำคัญนะครับ ก่อนอื่นผมจะขอกล่าวถึงทฤษฎีกับอีก 1 สมการที่มีความสำคัญสมการหนึ่งก่อนครับ ขอให้ดูรูปที่ 1 ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงสภาวะความเค้นเมื่อเราทำการวิเคราะห์หน้าตัดคาน คสล ประกอบนะครับ เรื่องนั้นก็คือ เรื่องการกำหนดสภาวะการวิบัติของหน้าตัดคาน คือ หากเราเสริมเหล็กให้มีปริมาณน้อยกว่าค่าที่คำนวณได้จากใน … Read More

การใช้โปรแกรม STAAD.PRO กรณีที่โครงสร้างเสาที่มีขนาดเล็กและใหญ่มาบรรจบกันแบบไม่ตรงศูนย์กลางซึ่งกันและกัน

สวัสดัครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน สืบเนื่องจากมีพี่ท่านหนึ่งได้หลังไมค์มาสอบถามผมเกี่ยวกับกรณีที่โปรแกรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น MIDAS GEN หรือ MICRO FEAP เองก็ดีนั้นสามารถที่จะทำการจำลองโครงสร้างจำพวก RIGID LINK สำหรับในกรณีที่โครงสร้างเสาที่มีขนาดเล็กและใหญ่มาบรรจบกันแบบไม่ตรงศูนย์กลางซึ่งกันและกัน แล้วโปรแกรม STAAD.PRO ทำได้หรือ ? (รูปที่ 1) คำตอบ คือ … Read More

ความรู้พื้นฐานในวิชา ENGINEERING MECHANICS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ต่อไปนี้วิชา ENERGY METHODS IN APPLIED MECHANICS ที่ผมมีโอกาสได้เรียนในระดับ ป เอก เริ่มที่จะทวีความน่าสนใจมากขึ้นทุกทีแล้วครับ ดังนั้นต่อไปผมคงจะมีโอกาสได้นำเนื้อหาที่น่าสนใจในรายวิชานี้มาฝากเพื่อที่เพื่อนๆ จะได้เรียนรู้ไปกับผมด้วยนะครับ แต่ก่อนที่จะไปเรียนรู้ถึงเนื้อหาในระดับสูงข้างต้นวันนี้ผมคิดว่าจะขอมาทบทวนความรู้พื้นฐานในวิชา ENGINEERING MECHANICS ให้แก่เพื่อนๆ ก่อนนะครับ เมื่อโครงสร้างใดๆ … Read More

การออกแบบให้คานนั้นเกิดการโก่งตัวขึ้นและลงได้ในเวลาเดียวกัน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่าในการออกแบบคานสำหรับโครงสร้างจำพวก คอร เราสามารถที่จะทำการออกแบบให้คานนั้นเกิดการโก่งตัวขึ้นและลงได้ในเวลาเดียวกัน วันนี้เราจะมาพูดคุยเรื่องนี้กันนะครับ เพื่อความเข้าใจที่ง่ายยิ่งขึ้นผมจึงขอยก ตย คานดังรูปนะครับ โดยข้อมูลการออกแบบจะประกอบไปด้วย ข้อมูลของหน้าตัดที่ทำการออกแบบ ec = et = 33.3 cm ct = … Read More

ENERGY METHODS IN APPLIED MECHANICS หรือ วิธีการพลังงานที่นำไปใช้ในงานกลศาสตร์ประยุกต์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้เนื้อหาที่ผมจะนำมาอธิบายแก่เพื่อนๆ นั้นอาจจะค่อนข้างไม่เป็นที่คุ้นเคยกันเท่าใดนักนะครับ แต่ผมก็เชื่อว่าจะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านครับ เรื่องนี้จะเกี่ยวข้องกับ ENERGY METHODS IN APPLIED MECHANICS หรือ วิธีการพลังงานที่นำไปใช้ในงานกลศาสตร์ประยุกต์ นะครับ จากทฤษฎีพื้นฐานทางด้านกลศาสตร์เราจะทราบว่าค่ากำลังงาน แทนค่าได้ด้วยตัวแปร W จะมีค่าเท่ากับพลังงานที่มีเครื่องหมายตรงข้ามกัน ซึ่งแทนค่าได้ด้วยตัวแปร … Read More

การจำลองโครงสร้างด้วยโปรแกรมทาง FINITE ELEMENT

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ วันนี้ผมจะมาแนะนำให้เพื่อนๆ ได้รู้จักถึงส่วนประกอบหลักๆ เมื่อวิศวกรต้องการทำการจำลองโครงสร้างด้วยโปรแกรมทาง FINITE ELEMENT กันพอสังเขปนะครับ เมื่อใดก็ตามที่วิศวกรต้องการจะวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมทาง FINITE ELEMENT ก็จะเริ่มต้นทำแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของโครงสร้างขึ้นมาก่อนครับ โดยที่องค์ประกอบหลักๆ ของแบบจำลองทางคณิตศาสตร์นี้จะประกอบไปด้วย (1) SIGN CONVENTION หรือ STRUCTURAL AXIS … Read More

1 29 30 31 32 33 34 35 68