การทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้เนื้อหาจะเกี่ยวข้องกับเรื่องที่มีแฟนเพจของเราท่านหนึ่งได้ REQUEST มาเป็นพิเศษนั่นก็คือเรื่องการออกแบบวิศวกรรมโครงสร้าง เสายาว หรือ SLENDER COLUMN นั่นเองนะครับ   โดยที่หากจะให้ผมพูดถึงเรื่องๆ นี้คงจะต้องอาศัยระยะเวลาในการพูดและอธิบายกันนานโขอยู่ … Read More

ความรู้ทางด้านการออกแบบต่อเติมงานวิศวกรรมโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งในช่วงบ่ายของวันเสาร์แบบนี้นะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาเชิญชวนเพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกัน ซึ่งคำถามในวันนี้จะเกี่ยวข้องความรู้ทางด้านการออกแบบต่อเติมงานวิศวกรรมโครงสร้างนั่นเองนะครับ โดยที่คำถามนั้นมีอยู่ว่า หากผมมีความต้องการที่จะทำการเจาะเสียบ พุกเหล็ก หรือ สลักเกลียวเคมี หรือที่เรานิยมเรียกกันในภาษาอังกฤษว่า CHEMICAL ANCHOR BOLT เข้าไปในโครงสร้างคอนกรีตเดิม โดยที่สลักเกลียวนี้มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 16 มม โดยผมขอสมมติว่าผมจะใช้ตัวเคมีภัณฑ์ … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้คือ พวกเราจะมีวิธีการอย่างไร หากมีความจำเป็นที่จะต้องทำการตอกเสาเข็มในบริเวณสถานที่ก่อสร้างโดยที่บริเวณนั้นๆ มีอาคารเดิมตั้งอยู่ก่อนหน้าแล้วนั่นเองนะครับ   โดยที่หากพูดถึงปัญหาๆ นี้เนื้อเรื่องจะค่อนข้างยืดยาวมากๆ ผมจึงจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตทำการแบ่งการโพสต์ออกเป็นสัก 2 ครั้งก็แล้วกันนะครับ   โดยในวันนี้ผมจะขอมาทำการอธิบายถึงในส่วนที่สองกันต่อจากสัปดาห์ที่แล้วนั่นก็คือ ขั้นตอนในเลือกระบบของโครงสร้างเสาเข็ม และ … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ   หัวข้อในวันนี้คือ พวกเราจะมีวิธีการอย่างไร หากมีความจำเป็นที่จะต้องทำการตอกเสาเข็มในบริเวณสถานที่ก่อสร้างโดยที่บริเวณนั้นๆ มีอาคารเดิมตั้งอยู่ก่อนหน้าแล้วนั่นเองนะครับ หากพูดถึงปัญหาๆ นี้เนื้อเรื่องจะค่อนข้างยืดยาวมากๆ ผมจึงจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตทำการแบ่งการโพสต์ออกเป็นสัก 2 ครั้งก็แล้วกันนะครับ โดยในวันนี้ผมจะขอเริ่มต้นทำการอธิบายถึงในส่วนแรกก่อน นั่นก็คือ ขั้นตอนในการออกแบบและเตรียมการ สำหรับการทำงานการตอกเสาเข็มนะครับ … Read More

วิธีการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้าง ให้มีค่าความต้านทาน ต่อการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุที่เพิ่มสูงขึ้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ หลังจากที่เมื่อวานนี้ผมได้พูดถึงวิธีในการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้างให้สามารถที่จะมีค่าความต้านทานต่อการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุที่เพิ่มสูงขึ้นสำหรับกรณีที่โครงสร้างนั้นมีความวิกฤติต่อประเภทของ นน บรรทุกในแนวดิ่งไปแล้ว ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงเรื่องวิธีในการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้างให้สามารถที่จะมีค่าความต้านทานต่อการรับแรงเฉือนแบบเจาะทะลุที่เพิ่มสูงขึ้นสำหรับกรณีที่โครงสร้างนั้นมีความวิกฤติต่อประเภทของ นน บรรทุกในแนวราบอย่างแรงกระทำจากแผ่นดินไหวให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อก็แล้วกันนะครับ   เริ่มจากการที่เราจะต้องทำการเลือกนำเอาวิธีการออกแบบๆ … Read More

การจี้หรือกระทุ้งคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยและมา DISCUSS ร่วมกันกับเพื่อนๆ ถึงประเด็นคำถามที่ผมได้ฝากเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวานนั่นก็คือ เนื่องจากผมมีโอกาสได้ไปสนทนากันกับรุ่นพี่ที่เป็นสถาปนิกรุ่นใหญ่ท่านหนึ่ง เราได้พูดคุยและแลกเปลี่ยนความรู้กันในหลายๆ เรื่องและมีคำถามๆ หนึ่งที่พี่เค้าได้สอบถามผมมาและผมก็ได้ตอบไปเรียบร้อยแล้ว … Read More

เฉลยคำตอบ ข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES ข้อที่ 82

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 82 โครงเฟรม ABC รับน้ำหนักบรรทุกแบบจุด ดังรูป จะเห็นว่า เสา AB รับแรงต่างๆ คือ … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เพื่อนๆ เคยสงสัยกันบ้างหรือไม่ครับว่าเพราะเหตุใดเวลาที่ทำการก่อสร้างโครงสร้างเหล็กที่มีการดัดโค้ง เค้าจึงนิยมใช้หน้าตัดเหล็กแบบกลมกลวงกันอยู่เสมอเลย ? วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบและทำความเข้าใจกันถึงประเด็นๆ นี้นะครับ   … Read More

มอร์ตาร์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ คำถามในวันนี้คือจากรูปที่ผมนำมาแสดงให้เพื่อนๆ ได้รับชมในวันนี้ เพื่อนๆ คิดว่าผมกำลังถือวัสดุอะไรอยู่ในมือครับ ? ถูกต้องนะครับ ในรูปนั้นเป็นมอร์ตาร์ที่ได้รับการผสมเม็ดโฟมลงไปนั่นเองนะครับ   … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากเมื่อวานนี้ผมได้ทำการทดสอบเรื่องกำลังรับแรงเฉือนทะลุของตัวอย่างพื้นคอนกรีตอัดแรงที่อยู่ภายใต้แรงกระทำจากแผ่นดินไหวตัวอย่างที่ 1 ซึ่งเป็นพื้นคอนกรีตอัดแรงชนิดที่ไม่ได้ทำการเสริมด้วยเหล็กเสริมรับแรงเฉือนใดๆ ไปเป็นที่เรียบร้อยแล้วนะครับ โดยค่าที่ทำการทดสอบได้นั้นปรากฏว่าแผ่นพื้นของผมที่มีค่า GSR หรือ GRAVITY SHEAR … Read More

1 12 13 14 15 16 17 18 32