การใช้โปรแกรม STAAD.PRO กรณีที่โครงสร้างเสาที่มีขนาดเล็กและใหญ่มาบรรจบกันแบบไม่ตรงศูนย์กลางซึ่งกันและกัน

สวัสดัครับแฟนเพจที่รักทุกท่าน สืบเนื่องจากมีพี่ท่านหนึ่งได้หลังไมค์มาสอบถามผมเกี่ยวกับกรณีที่โปรแกรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น MIDAS GEN หรือ MICRO FEAP เองก็ดีนั้นสามารถที่จะทำการจำลองโครงสร้างจำพวก RIGID LINK สำหรับในกรณีที่โครงสร้างเสาที่มีขนาดเล็กและใหญ่มาบรรจบกันแบบไม่ตรงศูนย์กลางซึ่งกันและกัน แล้วโปรแกรม STAAD.PRO ทำได้หรือ ? (รูปที่ 1) คำตอบ คือ … Read More

ความรู้พื้นฐานในวิชา ENGINEERING MECHANICS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ต่อไปนี้วิชา ENERGY METHODS IN APPLIED MECHANICS ที่ผมมีโอกาสได้เรียนในระดับ ป เอก เริ่มที่จะทวีความน่าสนใจมากขึ้นทุกทีแล้วครับ ดังนั้นต่อไปผมคงจะมีโอกาสได้นำเนื้อหาที่น่าสนใจในรายวิชานี้มาฝากเพื่อที่เพื่อนๆ จะได้เรียนรู้ไปกับผมด้วยนะครับ แต่ก่อนที่จะไปเรียนรู้ถึงเนื้อหาในระดับสูงข้างต้นวันนี้ผมคิดว่าจะขอมาทบทวนความรู้พื้นฐานในวิชา ENGINEERING MECHANICS ให้แก่เพื่อนๆ ก่อนนะครับ เมื่อโครงสร้างใดๆ … Read More

การออกแบบให้คานนั้นเกิดการโก่งตัวขึ้นและลงได้ในเวลาเดียวกัน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่าในการออกแบบคานสำหรับโครงสร้างจำพวก คอร เราสามารถที่จะทำการออกแบบให้คานนั้นเกิดการโก่งตัวขึ้นและลงได้ในเวลาเดียวกัน วันนี้เราจะมาพูดคุยเรื่องนี้กันนะครับ เพื่อความเข้าใจที่ง่ายยิ่งขึ้นผมจึงขอยก ตย คานดังรูปนะครับ โดยข้อมูลการออกแบบจะประกอบไปด้วย ข้อมูลของหน้าตัดที่ทำการออกแบบ ec = et = 33.3 cm ct = … Read More

ENERGY METHODS IN APPLIED MECHANICS หรือ วิธีการพลังงานที่นำไปใช้ในงานกลศาสตร์ประยุกต์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้เนื้อหาที่ผมจะนำมาอธิบายแก่เพื่อนๆ นั้นอาจจะค่อนข้างไม่เป็นที่คุ้นเคยกันเท่าใดนักนะครับ แต่ผมก็เชื่อว่าจะมีประโยชน์ต่อทุกๆ ท่านครับ เรื่องนี้จะเกี่ยวข้องกับ ENERGY METHODS IN APPLIED MECHANICS หรือ วิธีการพลังงานที่นำไปใช้ในงานกลศาสตร์ประยุกต์ นะครับ จากทฤษฎีพื้นฐานทางด้านกลศาสตร์เราจะทราบว่าค่ากำลังงาน แทนค่าได้ด้วยตัวแปร W จะมีค่าเท่ากับพลังงานที่มีเครื่องหมายตรงข้ามกัน ซึ่งแทนค่าได้ด้วยตัวแปร … Read More

การจำลองโครงสร้างด้วยโปรแกรมทาง FINITE ELEMENT

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ วันนี้ผมจะมาแนะนำให้เพื่อนๆ ได้รู้จักถึงส่วนประกอบหลักๆ เมื่อวิศวกรต้องการทำการจำลองโครงสร้างด้วยโปรแกรมทาง FINITE ELEMENT กันพอสังเขปนะครับ เมื่อใดก็ตามที่วิศวกรต้องการจะวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมทาง FINITE ELEMENT ก็จะเริ่มต้นทำแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของโครงสร้างขึ้นมาก่อนครับ โดยที่องค์ประกอบหลักๆ ของแบบจำลองทางคณิตศาสตร์นี้จะประกอบไปด้วย (1) SIGN CONVENTION หรือ STRUCTURAL AXIS … Read More

โครงสร้างคอนกรีตหน้าตัดผสม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาเล่าต่อให้จบถึงหัวข้อที่ผมได้ค้างเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวันก่อนนะครับ นั่นก็คือเรื่องประเภทหลักๆ ของโครงสร้างคอนกรีตที่มีการใช้งานกันในวงการวิศวกรรมโยธาของบ้านเรา โดยที่เราสามารถแบ่งประเภทของโครงสร้างคอนกรีตออกได้เป็นทั้งหมด 4 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ (1) โครงสร้างคอนกรีตล้วน (2) โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก (3) โครงสร้างคอนกรีตอัดแรง (4) โครงสร้างคอนกรีตหน้าตัดผสม (รูป A) (รูป … Read More

การออกแบบโครงสร้างเหล็กด้วยวิธีพลาสติกที่ใช้สมรรถนะของโครงสร้างเป็นเกณฑ์ หรือ PBPD (PERFORMANCE BASED PLASTIC DESIGN)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  เนื่องจากเมื่อวันก่อนที่แอดมินได้มีโอกาสเขียนบทความให้เพื่อนๆ ได้รู้จักถึงวิธีการออกแบบโครงสร้างเหล็กด้วยวิธีพลาสติกที่ใช้สมรรถนะของโครงสร้างเป็นเกณฑ์ หรือ PBPD (PERFORMANCE BASED PLASTIC DESIGN) ให้เพื่อนๆ ได้รู้จักกันไปในเบื้องต้นแล้วว่า วิธีการออกแบบโครงสร้างเหล็กด้วยวิธีพลาสติกที่ใช้สมรรถนะของโครงสร้างเป็นเกณฑ์ หรือ PERFORMANCE-BASED PLASTIC DESIGN (PBPD) จะประกอบไปด้วยกระบวนการออกแบบขั้นตอนหลักๆ ดังต่อไปนี้ครับ … Read More

อิฐมวลกลาง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ ในปัจจุบันนี้เพื่อนๆ หลายๆ ท่านคงจะเริ่มคุ้นหูกับผลิตภัณฑ์อิฐต่างๆ เช่น อิฐมอญ อิฐบล็อค และ อิฐมวลเบา กันเป็นอย่างดีแล้วใช่มั้ยครับ ? วันนี้แอดมินจะมาแนะนำและให้พวกเราทำความรู้จักกับ “อิฐมวลกลาง” กันบ้างนะครับ อิฐมวลกลาง ที่มีขายออยู่ตามท้องตลาดของบ้านเราในปัจจุบันมักจะเป็นอิฐคอนกรีตตันมวลกลาง อิฐชนิดนี้ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อตอบสนองความต้องการในงานก่อสร้างทั้งใน งานบ้าน งานอาคารสูง … Read More

หลักการออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากการที่เมื่อวันก่อนแอดมินได้ทำการอธิบายถึงหลักการออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION) ว่ามีหลักและวิธีในการออกแบบเพื่อรับแรงในแนวดิ่งและในแนวราบในะระดับที่ ADVANCE ขึ้นไปจากขั้นตอนปกติทั่วๆ ไปได้อย่างไรไปแล้วนะครับ วันนี้ผมจะมาอธิบายถึงหลักการออกแบบฐานรากเสาเข็ม (PILE FOUNDATION) กันบ้างนะครับ ก่อนอื่นต้องขอย้อนความสักเล็กน้อยให้ฟังก่อนนะครับว่าระบบฐานรากในโครงสร้างนั้นมีอยุ่ด้วยกันหลากหลายรูปแบบมาก โดยแต่ละรูปแบบนั้นจะมีทั้งข้อดี และ ข้อด้อย ของตัวเองขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ที่ใช้ อย่างไรก็ตามระบบฐานรากที่พบโดยทั่วไปจะจำแนกออกได้เป็น (A) … Read More

การตรวจสอบสภาวะการใช้งาน (SERVICEABILITY)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาโพสต์เอาใจนักออกแบบต่อกันอีกสักวันนะครับ เพื่อนคงจะทราบแล้วว่าทำไมหลายๆ ครั้งเวลาที่เราทำการออกแบบโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ สิ่งหนึ่งที่เราพบเจออยู่ได้บ่อยๆ ก็คือ เมื่อออกแบบหน้าตัดคานเหล็กทางสภาวะการรับกำลัง (STRENGTH) เสร็จแล้ว เราต้องทำการตรวจสอบสภาวะการใช้งาน (SERVICEABILITY) ด้วยทุกครั้งไป เวลาที่เราทำการตรวจสอบ เมื่อใช้ นน บรรทุกคงที่ และ นน บรรทุกจร … Read More

1 22 23 24 25 26 27 28 32