คอนกรีตกำลังสูง หรือว่า HIGH STRENGTH CONCRETE
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะแชร์ความรู้เรื่องเกี่ยวกับเรื่องวัสดุคอนกรีตที่มีความสำคัญ 2 อย่างมาฝากเพื่อนๆ นะครับ นั่นก็คือ คอนกรีตกำลังสูง หรือว่า HIGH STRENGTH CONCRETE เริ่มต้นที่นิยามของ คอนกรีตกำลังสูง ก่อนนะครับ คอนกรีตกำลังสูงก็คือคอนกรีตที่มีค่ากำลังอัดประลัยของ ตย รูปทรงกระบอกมาตรฐานตั้งแต่ 40 MPa … Read More
เทคนิคในการเพิ่มอายุการใช้งาน (DURABILITY) ของโครงสร้างคอนกรีต
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะมาแนะนำเทคนิคในการเพิ่มอายุการใช้งาน (DURABILITY) ของโครงสร้างคอนกรีตที่มีความง่ายดายและตรงไปตรงมาที่สุด นั่นก็คือการเลือกใช้ ค่าแรงเค้นอัดประลัย (ULTIMATE COMPRESSIVE STRESS) ของคอนกรีต … Read More
รูปแบบการทดสอบ ค่าการยุบตัวของตัวอย่างคอนกรีต
รูปแบบการทดสอบ ค่าการยุบตัวของตัวอย่างคอนกรีต ก่อนการเทคอนกรีตทุกครั้ง ควรต้องทำการตรวจสอบค่าการยุบตัวของ ตัวอย่างคอนกรีต ซึ่งการทดสอบอาจปฏิบัติตามวิธีการที่ได้มีระบุเอาไว้ในมาตรฐาน ASTM C143/C143M ในภาษาอังกฤษ คือ STANDARD TEST METHOD FOR SLUMP OF HYDRAULIC-CEMENT CONCRETE โดยเมื่อทำการเก็บ ตัวอย่างของคอนกรีตมาทำการทดสอบแล้ว … Read More
การคำนวณเพื่อการตรวจสอบค่าแรงเฉือนทะลุ (PUNCHING SHEAR)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของเพื่อนวิศวกรที่เคยสอบถามผมมาหลังไมค์ก่อนหน้านี้ว่า “เหตุใดก่อนหน้านี้ตอนที่ผมทำการอธิบายว่าในตรวจสอบค่าแรงเฉือนทะลุ (PUNCHING SHEAR) ผมจึงได้ทำการระบุว่าให้ใช้สมการในการคำนวณหาค่าความสามารถในการรับกำลังแรงเฉือนทะลุโดยคอนกรีตเท่ากับ 1.06 ϕ √fc’ bo d เพียงสมการเดียว เพราะ เหมือนตอนที่เพื่อนท่านนี้เรียนมาจะจำได้ว่า มีหลายสมการในการตรวจสอบมากๆ รบกวนผมช่วยอธิบายประเด็นนี้หน่อยได้หรือไม่ครับ ?” ขอปรบมือรัวๆ ให้กับคำถามข้อนี้เลยนะครับ เป็นคำถามที่ดีมากๆ … Read More