จะสร้างบ้านทั้งที ควรตอกเสาเข็มให้ลึกเท่าไหร่ บ้านถึงจะไม่ทรุด
ความสำคัญของเสาเข็ม เสาเข็มเป็นชิ้นส่วนที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งของโครงสร้างบ้าน เป็นส่วนประกอบของฐานรากซึ่งจะฝังตัวอยู่ในดินเพื่อทำหน้าที่รองรับน้ำหนักบ้านทั้งหลัง หากว่าเราสร้างบ้านแล้วไม่ได้ลงเสาเข็มไว้ น้ำหนักของตัวบ้านก็จะกดทับผิวดินด้านบนให้ค่อยทรุดตัวลงทีละนิดจนก่อให้เกิดความเสียหายต่อโครงสร้างบ้านได้ เสาเข็มช่วยแก้ปัญหาบ้านทรุดได้ยังไง เสาเข็มรับน้ำหนักได้อย่างไร? เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักที่กดทับได้ด้วยแรง 2 ชนิดหลักๆ คือ แรงเสียดทานที่ผิวของเสาเข็ม (Skin Friction) คือแรงต้านที่เกิดจากแรงเสียดทานระหว่างผิวของเสาเข็มกับดินโดยรอบ ซึ่งแรงที่เกิดขึ้นนี้จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิดของดินและลักษณะของเสาเข็มแต่ละประเภท แรงต้านที่ปลายเสาเข็ม (End Bearing) คือแรงต้านที่เกิดขึ้นบริเวณปลายเสาเข็ม … Read More
ต่อเติมบ้าน ด้วย เสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile และเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ Spunmicropile ป้องกันทรุด อย่างตรงจุด
ต่อเติมบ้าน ด้วย เสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile และเสาเข็มสปัน ไมโครไพล์ Spunmicropile ป้องกันทรุด อย่างตรงจุด การตอกเสาเข็ม จะต้องตอกตามที่วิศวกรกำหนดไว้ ต่อเติมบ้าน หากตอกเสาเข็มไม่ลึกพอ(ไม่ถึงชั้นดินดาน) อาจพบกับปัญหาการแตกร้าวของผนัง หรืออาจเกิดการทรุดตัวของส่วนที่ต่อเติม จนต้องทุบทิ้ง และการต่อเติมบ้าน ต้องคำนึงถึงแรงสั่นสะเทือนในการตอก เพราะแรงสั่นสะเทือนจากการตอกเสาเข็มสามารถส่งผลต่อโครงสร้างเดิม … Read More
ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง TRANSPORTATION ENGINEERING วัสดุปิดผิว
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง TRANSPORTATION ENGINEERING กันบ้างนะครับ นั่นก็คือเรื่องวัสดุปิดผิวที่จะต้องถือว่าเป็นวัสดุปิดผิวที่ใช้ในงานปิดผิวของงานทางประเภทหนึ่งนะครับ นั่นก็คือ ANTI SKID SURFACE นั่นเองครับ เพื่อนๆ อาจเคยมีโอกาสเดินทางไปสนามบินสุวรรณภูมิจากถนนเส้นมอเตอร์เวย์ และ บนถนนเพื่อนๆ อาจจะเห็นเจ้าสาร ANTI SKID SURFACE … Read More
เรื่อง Pcr หรือ CRITICAL LOAD หรือว่า BUCKLING LOAD ว่าเหตุใดผมถึงได้กล่าวว่าหากทำการจำลองโครงสร้างด้วย PINNED แทนที่จะเป็น SPRING
ref: https://www.facebook.com/bhumisiam/posts/1405608952818559:0 สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอมาตอบคำถามน้องวิศวกรท่านเดิมต่อเนื่องจากโพสต์ที่แล้วของผมนะครับ เกี่ยวเนื่องกับเรื่องที่ผมได้กล่าวถึงเรื่อง Pcr หรือ CRITICAL LOAD หรือว่า BUCKLING LOAD ว่าเหตุใดผมถึงได้กล่าวว่าหากทำการจำลองโครงสร้างด้วย PINNED แทนที่จะเป็น SPRING ในแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของเรา เหตุใดจึงทำให้ค่า Pcr … Read More