เหล็กปลอก (STIRRUP)
เหล็กปลอก (Stirrup) คือ เหล็กที่ใช้เสริมอยู่ภายในเสาหรือคานในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก เหล็กที่ใช้ส่วนมากคือคือเหล็กเส้นกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 6 มิลลิเมตร โดยจะดัดเหล็กเส้นเป็นรูปร่างเดียวกับพื้นที่หน้าตัดของเสาหรือคานที่จะใช้ ติดตั้งล้อมรอบเหล็กยืน ตลอดความยาวของโครงสร้างเป็นระยะห่างอย่างสม่ำเสมอ หากเสาคอนกรีตมีแต่แกนเหล็กแต่ไม่มีเหล็กรัดรอบ เมื่อเสารับน้ำหนักจนเกินกำลังที่รับได้ เสาจะเกิดการวิบัติในลักษณะแตกระเบิด ก่อนเกิดการโก่งตัว ดังนั้นเหล็กปลอกจึงช่วยต้านทานการแตกของคอนกรีตภายในได้ เสาจะไม่แตกระเบิด แต่ค่อยๆ โกงตัวจนกระทั่งเกิดการวิบัติในที่สุด เหล็กปลอกเสาที่รัดรอบเหล็กแกนเสา … Read More
เสาเข็มไมโครไพล์ ,สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็ม ไอไมโครไพล์ I Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก ขยายโรงงาน
เสาเข็มไมโครไพล์ ,สปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็ม ไอไมโครไพล์ I Micropile เสาเข็มเพื่อการต่อเติม เสริมฐานราก ขยายโรงงาน เพื่อยกระดับฐานรากของโรงงาน และโครงสร้างเดิม ให้มั่นคงมากยิ่งขึ้น ควรเลือกใช้เสาเข็มที่มีคุณภาพ เพื่อต่อเติมโรงงาน และการที่เราจะทราบความลึกของเสาเข็มนั้น เราจะใช้วิธีการทดสอบเพื่อหาความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการทดสอบทางอ้อม ซึ่งวิธีการที่จะมีความนิยมนำมาใช้ก็คือ … Read More
โครงสร้างฐานรากซึ่งคอยทำหน้าที่เป็นโครงสร้างรั้วให้แก่โครงสร้างแห่งหนึ่ง ซึ่งได้เกิดรูปแบบ “กึ่งวิบัติ” ขึ้น
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมมีรูปจริงๆ ของระบบโครงสร้างฐานรากซึ่งคอยทำหน้าที่เป็นโครงสร้างรั้วให้แก่โครงสร้างแห่งหนึ่ง ซึ่งได้เกิดรูปแบบ “กึ่งวิบัติ” ขึ้น สาเหตุที่ผมใช้คำว่า กึ่งวิบัติ นั้นเป็นเพราะว่าถึงแม้ว่าโครงสร้างเสานั้นจะเกิดรอยร้าวที่มองเห็นได้อย่างชัดเจนด้วยตาเปล่าเลยแต่ก็ยังดีว่าระบบโครงสร้างโดยรวมนั้นยังไม่ได้ถึงขั้นเกิดการวิบัติอย่างสมบูรณ์ โดยที่เจ้าของนั้นก็คงจะสังเกตเห็นและก็ทำการใช้ท่อนไม้ในการทำหน้าที่เป็นโครงสร้างค้ำยันให้แก่ระบบโครงสร้างนี้ได้ทันการพอดีน่ะครับ โดยที่ผมได้ตั้งข้อสันนิษฐานว่า … Read More
ตัวอย่างการคำนวณและแปรผลเมื่อเราทำการทดสอบ PILE LOADING TEST
ตัวอย่างการคำนวณและแปรผลเมื่อเราทำการทดสอบ PILE LOADING TEST ในวันนี้เป็นผลจากการทดสอบด้วยวิธี PILE DYNAMIC LOAD TEST ซึ่งได้จากการทดสอบเสาเข็มจริงๆ ณ หน้างานนะครับ ซึ่งข้อมูลที่นำมาให้รับชมนี้เป็นแค่เพียงข้อมูลในเบื้องต้นเท่านั้น ทั้งนี้ก็เพื่อให้เพื่อนๆ ได้เห็นเป็น ตย นั่นเองนะครับ เรามาเริ่มต้นดูกันเลยก็แล้วกันนะครับ จากแผนภูมิๆ นี้เป็นเพียงแผนภูมิหนึ่งที่เป็นผลที่ได้จากการทดสอบเสาเข็มโดยวิธี … Read More