โครงสร้างคอนกรีตหน้าตัดผสม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาเล่าต่อให้จบถึงหัวข้อที่ผมได้ค้างเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวันก่อนนะครับ นั่นก็คือเรื่องประเภทหลักๆ ของโครงสร้างคอนกรีตที่มีการใช้งานกันในวงการวิศวกรรมโยธาของบ้านเรา โดยที่เราสามารถแบ่งประเภทของโครงสร้างคอนกรีตออกได้เป็นทั้งหมด 4 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ (1) โครงสร้างคอนกรีตล้วน (2) โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก (3) โครงสร้างคอนกรีตอัดแรง (4) โครงสร้างคอนกรีตหน้าตัดผสม (รูป A) (รูป … Read More

การออกแบบโครงสร้างเหล็กด้วยวิธีพลาสติกที่ใช้สมรรถนะของโครงสร้างเป็นเกณฑ์ หรือ PBPD (PERFORMANCE BASED PLASTIC DESIGN)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  เนื่องจากเมื่อวันก่อนที่แอดมินได้มีโอกาสเขียนบทความให้เพื่อนๆ ได้รู้จักถึงวิธีการออกแบบโครงสร้างเหล็กด้วยวิธีพลาสติกที่ใช้สมรรถนะของโครงสร้างเป็นเกณฑ์ หรือ PBPD (PERFORMANCE BASED PLASTIC DESIGN) ให้เพื่อนๆ ได้รู้จักกันไปในเบื้องต้นแล้วว่า วิธีการออกแบบโครงสร้างเหล็กด้วยวิธีพลาสติกที่ใช้สมรรถนะของโครงสร้างเป็นเกณฑ์ หรือ PERFORMANCE-BASED PLASTIC DESIGN (PBPD) จะประกอบไปด้วยกระบวนการออกแบบขั้นตอนหลักๆ ดังต่อไปนี้ครับ … Read More

อิฐมวลกลาง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ ในปัจจุบันนี้เพื่อนๆ หลายๆ ท่านคงจะเริ่มคุ้นหูกับผลิตภัณฑ์อิฐต่างๆ เช่น อิฐมอญ อิฐบล็อค และ อิฐมวลเบา กันเป็นอย่างดีแล้วใช่มั้ยครับ ? วันนี้แอดมินจะมาแนะนำและให้พวกเราทำความรู้จักกับ “อิฐมวลกลาง” กันบ้างนะครับ อิฐมวลกลาง ที่มีขายออยู่ตามท้องตลาดของบ้านเราในปัจจุบันมักจะเป็นอิฐคอนกรีตตันมวลกลาง อิฐชนิดนี้ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อตอบสนองความต้องการในงานก่อสร้างทั้งใน งานบ้าน งานอาคารสูง … Read More

หลักการออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากการที่เมื่อวันก่อนแอดมินได้ทำการอธิบายถึงหลักการออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION) ว่ามีหลักและวิธีในการออกแบบเพื่อรับแรงในแนวดิ่งและในแนวราบในะระดับที่ ADVANCE ขึ้นไปจากขั้นตอนปกติทั่วๆ ไปได้อย่างไรไปแล้วนะครับ วันนี้ผมจะมาอธิบายถึงหลักการออกแบบฐานรากเสาเข็ม (PILE FOUNDATION) กันบ้างนะครับ ก่อนอื่นต้องขอย้อนความสักเล็กน้อยให้ฟังก่อนนะครับว่าระบบฐานรากในโครงสร้างนั้นมีอยุ่ด้วยกันหลากหลายรูปแบบมาก โดยแต่ละรูปแบบนั้นจะมีทั้งข้อดี และ ข้อด้อย ของตัวเองขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ที่ใช้ อย่างไรก็ตามระบบฐานรากที่พบโดยทั่วไปจะจำแนกออกได้เป็น (A) … Read More

การตรวจสอบสภาวะการใช้งาน (SERVICEABILITY)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาโพสต์เอาใจนักออกแบบต่อกันอีกสักวันนะครับ เพื่อนคงจะทราบแล้วว่าทำไมหลายๆ ครั้งเวลาที่เราทำการออกแบบโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ สิ่งหนึ่งที่เราพบเจออยู่ได้บ่อยๆ ก็คือ เมื่อออกแบบหน้าตัดคานเหล็กทางสภาวะการรับกำลัง (STRENGTH) เสร็จแล้ว เราต้องทำการตรวจสอบสภาวะการใช้งาน (SERVICEABILITY) ด้วยทุกครั้งไป เวลาที่เราทำการตรวจสอบ เมื่อใช้ นน บรรทุกคงที่ และ นน บรรทุกจร … Read More

วิธีในการใช้งาน SCHMIDT HAMMER

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาเล่าให้ฟังถึงกระบวนการทำงาน และ วิธีในการใช้งานเจ้า SCHMIDT HAMMER ต่อจากเมื่อวานนะครับ ในการทดสอบหาค่ากำลังอัดของคอนกรีตด้วยวิธี REBOUND HAMMER TEST หรือที่เราเรียกกันจนคุ้นหูว่า SCHMIDT HAMMER TEST (ดูรูปที 1) เป็นการทดสอบเพื่อที่จะทำการประเมินค่ากำลังอัดของคอนกรีตในโครงสร้างแบบไม่ทำลาย (NON-DESTRUCTIVE … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านนะครับ  หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ     ผมต้องขออภัยเพื่อนๆ และพี่ๆ น้องๆ อีกหลายคนที่ยังมีเรื่องราวและคำถามที่ได้ฝากกันเข้ามา แต่ เนื่องด้วยภารกิจต่างๆ ของผมมันช่างมากมายเหลือเกิน … Read More

วิธีการคำนวณเหล็กเสริมต้านทานการหดตัว (TEMPERATURE STEEL) ในหน้าตัด คสล

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านนะครับ  วันนี้แอดมินจะนำวิธีการคำนวณเหล็กเสริมต้านทานการหดตัว (TEMPERATURE STEEL) ในหน้าตัด คสล มาให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันนะครับ ก่อนอื่นเรามาทบทวนความรู้กันก่อนนะครับ     วัสดุคอนกรีตเป็นวัสดุที่มีคุณสมบัติด้านความแข็งตัว (SOLID) ที่ค่อนข้างดีเพราะจะทำให้สามารถรับกำลังอัดที่เกิดขึ้นในหน้าตัดได้ดี แต่ ก็มีคุณสมบัติด้านความเปราะ (BRITTLE) ในตัวเองด้วยเช่นกัน ดังนั้นด้วยคุณสมบัติข้างต้นทำให้เมื่อทำการหล่อคอนกรีตจนคอนกรีตเริ่มที่จะแข็งตัวแล้ว … Read More

สมการในการคำนวณหาค่าน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  วันนี้ผมจะมาเล่าให้เพื่อนๆ ฟังถึงเรื่องสมการในการคำนวณหาค่า นน บรรทุกของเสาเข็ม ซึ่งสุดท้ายค่า PARAMETER ที่เราจะได้จากคำนวณจากข้อมูลของดินอย่างที่ผมได้เคยเล่าให้เพื่อนๆ ฟังก่อนหน้านี้ ก็จะถูกนำมาคำนวณในสมการเหล่านี้นั่นเองครับ   เรามาดูกันก่อนนะครับว่าตัวย่อของค่าต่างๆ ที่จะถูกนำไปแทนค่าในสมการต่างๆ เหล่านี้ประกอบไปด้วยตัวย่ออะไรบ้าง เริ่มต้นจากค่าคุณสมบัติต่างๆ ของเสาเข็มและค่าอัตาส่วนความปลอดภัยที่เราจะใช้ในการคำนวณหาค่า นน บรรทุกของเสาเข็มที่ยอมให้กันนะครับ Pp … Read More

งานกำแพงกันดินชนิดที่มีการรับแรงกระทำโดยเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน  วันนี้ผมจะมาอธิบายแก่เพื่อนๆ รวมถึงรุ่นน้องท่านหนึ่งที่กำลังจะทำงานวิจัยในระดับ ป ตรี ส่งทางภาควิชาเพื่อที่จะจบและสำเร็จการศึกษา เพราะ น้องเค้าตั้งใจอยากที่จะทำทางด้าน งานกำแพงกันดินชนิดที่มีการรับแรงกระทำโดยเสาเข็ม จากที่ผมได้คุยกันกับน้องท่านนี้ไปเมื่อหลายวันก่อนที่น้องปรึกษาพี่เรื่องการออกแบบระบบกำแพงกันดินโดยใช้วิธีการตอกเสาเข็ม และ ทำการสอดแผ่นสำเร็จรูปเพื่อที่จะทำหน้าที่ถ่ายแรงกระทำทางด้านข้างจากมวลดิน รวมไปถึง นน SURCHARGE ต่างๆ ให้เข้าไปที่ตัวของโครงสร้างเสาเข็ม ซึ่งผมได้อธิบายกับน้องท่านนี้ไปว่าสำหรับกรณีการรับ นน ของเสาเข็มแบบนี้จะเป็นการรับแรงกระทำทางด้านข้าง จะมิใช่การรับรับแรงกระทำตามแนวแกนเหมือนที่น้องเคยเรียนมาในวิชา … Read More

1 30 31 32 33 34 35 36 68