การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) นะครับ เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่าเวลาที่ผมมักจะพูดถึง การออกแบบฐานรากรองรับเครื่องจักรขนาดใหญ่ (LARGE MACHINE FOUNDATION) ที่มีการสั่นตัวมาก (LARGE VIBRATION AMPLITUDE) ทางผู้ออกแบบเค้ามีวิธีการดูอย่างไรว่าโครงสร้างที่รองรับเครื่องจักรเหล่านี้มีความใช้ได้แล้ว … Read More

การคำนวณเพื่อการตรวจสอบค่าแรงเฉือนทะลุ (PUNCHING SHEAR)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของเพื่อนวิศวกรที่เคยสอบถามผมมาหลังไมค์ก่อนหน้านี้ว่า “เหตุใดก่อนหน้านี้ตอนที่ผมทำการอธิบายว่าในตรวจสอบค่าแรงเฉือนทะลุ (PUNCHING SHEAR) ผมจึงได้ทำการระบุว่าให้ใช้สมการในการคำนวณหาค่าความสามารถในการรับกำลังแรงเฉือนทะลุโดยคอนกรีตเท่ากับ 1.06 ϕ √fc’ bo d เพียงสมการเดียว เพราะ เหมือนตอนที่เพื่อนท่านนี้เรียนมาจะจำได้ว่า มีหลายสมการในการตรวจสอบมากๆ รบกวนผมช่วยอธิบายประเด็นนี้หน่อยได้หรือไม่ครับ ?” ขอปรบมือรัวๆ ให้กับคำถามข้อนี้เลยนะครับ เป็นคำถามที่ดีมากๆ … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างโดยอาศัยค่าสัมประสิทธิ์แรงดัดตามวิธีการของ ACI

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ที่เป็นวิศวกรที่มีความต้องการที่จะทำการวิเคราะห์โครงสร้างคานรับแรงดัดในทิศทางเดียว (ONE WAY FLEXURAL ANALYSIS) แบบประมาณการ หรือ ด้วยวิธีการอย่างง่าย นั่นก็คือ การวิเคราะห์โครงสร้างโดยอาศัยค่าสัมประสิทธิ์แรงดัดตามวิธีการของ ACI นั่นเองนะครับ ขั้นตอนในการวิเคราะห์โครงสร้างโดยอาศัยค่าสัมประสิทธิ์แรงดัดตามวิธีการของ ACI นั้นสามารถทำได้ง่ายๆ นะครับ แต่ … Read More

ระยะการยุบตัว หรือ ที่เราเรียกกันในภาษาช่างว่า SLUMP

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงประเด็นที่ต้องถือว่ามีความสำคัญมากอย่างหนึ่งในการทำงานก่อสร้างโครงสร้าง คสล แต่ ก็มักที่จะถูกมองข้ามไปอยู่เสมอๆ เลยนะครับ นั่นก็คือประเด็นในเรื่องของ ระยะการยุบตัว หรือ ที่เราเรียกกันในภาษาช่างว่า SLUMP นะครับ เพื่อนๆ ทราบกันหรือไม่ครับว่าเพราะเหตุใดค่าการยุบตัว หรือ SLUMP นี้จึงมีความสำคัญมากในการทำงานก่อสร้างโครงสร้าง คสล … Read More

ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากที่ในการโพสต์ครั้งก่อนนี้ผมได้ให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ทุกคนรวมไปถึงเพื่อนที่เป็นสถาปนิกถึงเรื่อง ขนาดที่เหมาะสมของเสา ไปแล้วนะครับ ผมได้รับคำถามเพิ่มเติมมาอีกว่าอยากให้ผมนั้นให้คำแนะนำเกี่ยวกับเรื่อง ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS ด้วยนะครับ หากเป็นเช่นนั้นผมก็ขอจัดให้ตามคำร้องขอเลยก็แล้วกันนะครับ เพื่อนๆ ดูรูปประกอบด้วยนะครับ โดยผมขอแบ่งประเภทของโครงถักออกเป็น 2 รูปแบบหลักๆ คือ (1) … Read More

การคำนวณ การรับน้ำหนักปลอดภัยของเสาเข็มตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครข้อที่ 67 สำหรับกรณีเสาเข็มยาว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากเมื่อวานนี้ผมยก ตย การคำนวณการรับ นน ปลอดภัยของเสาเข็มตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครข้อที่ 67 สำหรับกรณีเสาเข็มสั้นไปแล้ว วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยก ตย สำหรับกรณีที่เป็นเสาเข็มยาวบ้างนะครับ อย่างที่ผมเรียนไปเมื่อวานนะครับว่าข้อบัญญัตินี้ถูกบัญญัติขึ้นมาสำหรับกรณีที่งานก่อสร้างนั้นๆ มิได้มีการทำการทดสอบดิน หากเป็นเช่นนี้ให้เราทำการออกแบบเสาเข็มโดยให้เสาเข็มนั้นเป็นเสาเข็มแรงฝืด (SKIN FRICTION PILE) เพียงเท่านั้น ซึ่งสำหรับกรณีที่เสาเข็มนั้นมีความยาวมากๆ ก็เช่นกันนะครับ … Read More

การคำนวณ การรับน้ำหนักปลอดภัยของเสาเข็มตามข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครข้อที่ 67 สำหรับกรณีเสาเข็มสั้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามของแฟนเพจที่ได้ฝากเอาไว้ที่ว่า “เหตุใดผมจึงมักที่จะพูดอยู่บ่อยๆ ว่าในการที่เราจะทราบความสามารถในการรับ นน ของเสาเข็มที่แน่นอนนั้นเราจำเป็นที่จะต้องทำการเจาะสำรวจดินเสียก่อน แต่ เวลาจะใช้งานพวกเสาเข็มทั่วๆ ไป หรือ เสาเข็มสั้น เค้ามักจะมีคำพูดพ่วงท้ายมาเลยว่าเสาเข้มต้นนั้นๆ จะสามารถรับ นน ปลอดภัยได้เท่ากับค่านั้นค่านี้ เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ?” ก่อนอื่นเลยผมต้องขอชมเชยคนถามก่อนนะครับ แสดงว่าคนถามคำถามข้อนี้เป็นคนช่างสังเกตคนหนึ่ง ถึงแม้จะไม่ใช่วิศวกรก็ตาม … Read More

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) ตอกรับพื้นอาคาร ขยายโรงงาน ตอกเสริมฐานราก

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) ตอกรับพื้นอาคาร ขยายโรงงาน ตอกเสริมฐานราก เสริมฐานรากอาคาร โรงงาน และตอกฐานรากเพื่อรองรับน้ำหนักเครื่องจักร สามารถตอกรับพื้นได้ถึงชั้นดินดาน ฐานรากมีความมั่นคงแข็งแรง รับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย ต้องเสาเข็ม สปันไมโครไพล์แท้ ที่มีความแข็งแกร่งสูง ต้องการเสาเข็ม แนะนำเสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ โดย ภูมิสยาม … Read More

เสาเข็มที่จะใช้ในการก่อสร้างแผ่นพื้นไร้คานแบบไม่มีแป้นหัวเสา จำเป็นที่จะต้องมีเหล็กเดือย หรือ DOWEL BAR หรือไม่ ?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของเพื่อนเราที่ถามมาทางหลังไมค์ว่า “หากจะทำการก่อสร้างแผ่นพื้นไร้คานแบบไม่มีแป้นหัวเสา หรือ FLAT PLATE เพื่อที่จะใช้รองรับ นน บรรทุกจักรจากเครื่องจักรที่มีการใช้งานอยู่ อยากจะสอบถามว่า เสาเข็มที่จะใช้ในการก่อสร้างนั้นจำเป็นที่จะต้องมีเหล็กเดือย หรือ DOWEL BAR หรือไม่ ?” ก่อนที่ผมจะทำการตอบคำถามข้อนี้ผมอยากที่จะนำเพื่อนๆ ให้มาดู ตย … Read More

ตอกในอาคาร หรือต่อเติมโรงงาน แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) 

ตอกในอาคาร หรือต่อเติมโรงงาน แนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile)  ต้องการเสริมการรับน้ำหนักของพื้นโรงงาน หรือน้ำหนักของเครื่องจักร เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ตอบโจทย์ เพราะเสาเข็มมีเนื้อคอนกรีตที่หนาแน่น เพราะผ่านการสปัน (SPUN) กรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง ทำให้เสาเข็มมีความแข็งแกร่งสูง ได้รับการรับรองมาตรฐาน มอก.397-2524 สามารถรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย คิดจะต่อเติมอาคาร … Read More

1 24 25 26 27 28 29 30 68