สภาวะของโครงสร้างเสาเข็ม เกิดแรงดึงฉุดลง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากเพื่อนๆ เอาไว้ในสัปดาห์ที่ผ่านมาว่าวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงตัวอย่างในการคำนวณเกี่ยวกับประเด็นเรื่องวิธีในการคำนวณหาค่าของ แรงดึงฉุดลง หรือ NEGATIVE SKIN FRICTION ให้เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบไปพร้อมๆ … Read More

รายละเอียดของจุดต่อ ระหว่างโครงสร้างฐานรากและโครงสร้างเสาเข็ม เพื่อป้องกันกรณีของแรงฉุดดึงลงในดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากว่าเงื่อนไขคือ จากผลการทดสอบตัวอย่างดินในห้องปฏิบัติการพบว่า ดินในโครงการก่อสร้างของเรานั้นมีความวิกฤติว่าจะมีโอกาสเกิด แรงฉุดดึงลง หรือ … Read More

การอ่านค่าจากเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้างที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ   จากรูปที่ได้แนบมาในโพสต์ๆ นี้ก็คือรูปของอปุกรณ์ “เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์” ซึ่งก็จะมีหน่วย “หลัก” ที่อยู่บน “เสกลหลัก” … Read More

เหล็กโครงสร้างรูปพรรณรีดร้อน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ   ตามที่ผมได้แจ้งไปในการโพสต์ครั้งที่แล้วว่า วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์เพื่อเป็นการอธิบายและลงรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเด็นในเรื่อง เหล็กที่ถูกผลิตขึ้นด้วยกรรมวิธีของเหล็กโครงสร้างรูปพรรณรีดร้อนหรือว่า HOT ROLLED STEEL และ เหล็กโครงสร้างรูปพรรณขึ้นรูปเย็นหรือว่า COLED FORM STEEL … Read More

สภาวะของการที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเกิดแรงดึงฉุดลง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ในวันนี้ผมอยากจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงหัวข้อที่มีความสำคัญมากหัวข้อหนึ่งที่มีความเกี่ยวพันกันกับเรื่องของการรับกำลังของเสาเข็มของเรา ซึ่งเอาเข้าจริงๆ แล้วตัวของผมเองก็เคยได้ทำการพูดถึงหัวข้อๆ นี้ไปก็หลายครั้งแล้วในการโพสต์ของผมก่อนหน้านี้ เรื่องๆ นี้ก็คือ สภาวะของการที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้น เกิดแรงดึงฉุดลง หรือ NEGATIVE … Read More

สมการในการคำนวณหาค่า Ec และค่า Ece

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   ในวันนี้ผมอยากจะขออนุญาตมาทำการอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนๆ ได้ทำความเข้าใจกันถึงค่า Ece นี้กันต่ออีกสักโพสต์หนึ่งก็แล้วกันนะ ซึ่งหากอ้างอิงไปในการโพสต์ครั้งที่แล้วที่ผมได้กล่าวไปว่า หากจะพูดถึงค่า “โมดูลัสยืดหยุ่น” เราต้องทำความเข้าใจให้ดีๆ … Read More

ความรู้เรื่องค่าEcและค่าEce

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   หากว่าเพื่อนๆ ท่านใดเคยเปิดอ่านรายการคำนวณงานวิศวกรรมโครงสร้างที่มีความเกี่ยวข้องกันกับโครงสร้างเสาเข็มแล้วเพื่อนๆ พบว่าค่าของ “โมดูลัสยืดหยุ่น” หรือ ELASTIC MODULUS ที่ใช้ในโครงสร้างเสาเข็มนั้นๆ มีค่าแปลกๆ … Read More

วิเคราะห์โครงสร้างเชิงพลศาสตร์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากเมื่อช่วงสองถึงสามสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้ทำการโพสต์คลิปเพื่อแสดงวิธีในการแก้ปัญหาข้อที่ 6.14 ซึ่งเป็นปัญหาท้ายบทที่ 6 จากหนังสือ DYNAMICS OF STRUCTURES เขียนโดย ANIL K. CHOPRA ซึ่งหนังสือเล่มนี้ที่ผมเลือกนำมาใช้จะเป็นหนังสือฉบับ EDITION ที่ 3 นะครับ   … Read More

การรับกำลังของเสาเข็มเดี่ยวและกลุ่ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้ทำการแจ้งกับเพื่อนๆ ไปว่าในสัปดาห์นี้ผมจะขออนุญาตมาทำการสรุปเนื้อหาที่ผมได้ทำการโพสต์ อธิบายพร้อมกับยกตัวอย่างไปในตลอดหลายๆ สัปดาห์ที่ผ่านมาให้เพื่อนๆ รับทราบกันอีกสักรอบหนึ่ง ก่อนที่ในสัปดาห์ถัดๆ ไปนั้นเราจะได้ขึ้นหัวข้ออื่นๆ กันต่อไปนะครับ   จริงๆ แล้วหากเราจะมาทำการสรุปเนื้อหาในการออกแบบโครงสร้างฐานรากที่เป็นแบบ DEEP … Read More

ปัญหาเรื่อง ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนไป เกี่ยวกับระบบเสาเข็มรับแรงฝืด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อช่วงประมาณสักหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้รับข้อความเข้ามาทางอินบ็อกซ์จากน้องท่านหนึ่งซึ่งใจความของคำถามนั้นมีดังต่อไปนี้ครับ “ผมจะรบกวนขอคำปรึกษาดังนี้ครับ หากเรามีความต้องการที่จะทำการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มเจาะแบบแห้งหรือ DRY PROCESS BORED PILE ด้วยวิธี DYNAMIC LOAD … Read More

1 5 6 7 8 9 10 11 32