วิธีการแก้ปัญหา โครงสร้างพื้นที่มีการทรุดตัวไม่เท่ากัน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ หลังจากที่ในหลายๆ ครั้งที่ผ่านมานั้นผมเคยได้หยิบยกและนำเอากรณีตัวอย่างของการแก้ไขเหตุการณ์ที่โครงสร้างส่วนบนนั้นเกิดการทรุดตัวที่แตกต่างกันให้กับเพื่อนๆ ไปบ้างแล้ว ในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอากรณีตัวอย่างของของการแก้ไขเหตุการณ์ที่โครงสร้างส่วนล่างนั้นเกิดการทรุดตัวที่แตกต่างกันบ้าง ซึ่งวิธีในวันนี้เป็นเพียงวิธีการง่ายๆ ใช้งบประมาณไม่เยอะเท่าใดนัก เราจะมาดูกันซิว่าการแก้ไขด้วยวิธีการนี้มีข้อดีหรือข้อด้อยอย่างไรนะครับ วิธีการที่ว่าก็คือ การปล่อยให้โครงสร้างส่วนล่างหรือจะเรียกว่าพื้นก็ได้ ให้เกิดการทรุดตัวแบบแตกต่างกันไปเลยโดยที่จะไม่ทำการซ่อมแซมโครงสร้างทั้งส่วนใหม่และเก่านี้เลย … Read More

ปัญหาการเลือกวิธีการก่อสร้างต่อเติมหลังคา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ เพื่อนๆ มีบ้านซึ่งทำจากโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กอยู่หลังหนึ่งซึ่งเป็นมรดกตกทอดมาจากคุณพ่อคุณแม่ ซึ่งบ้านหลังนี้ก็มีอายุมากกว่า 30 ปีแล้ว หากเพื่อนๆ มีความต้องการที่จะทำการก่อสร้างต่อเติมส่วนที่เป็นโครงสร้างหลังคาให้มีการขยายออกไปจากส่วนที่เป็นอาคารเดิมของเพื่อนๆ … Read More

ปัญหาการนำเอาค่าแรงดัดมาคิดผลของแรงเฉือนทะลุในโครงสร้างฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปที่แสดงจะเห็นได้ว่าเป็นกรณีของโครงสร้างฐานรากแบบตื้นหรือ SHALLOW FOUNDATION ซึ่งจะเป็นการวางตัวโครงสร้างฐานรากลงไปอยู่บนดินโดยตรงเลย โดยต้องถือว่าฐานรากทั้ง 2 … Read More

เสถียรภาพของโครงสร้างของหลังคา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสองถึงสามช่วงสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้ทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องเสถียรภาพของโครงสร้างของหลังคาที่ทำหน้าที่ในการป้องกันลมฝนซึ่งจะอยู่ในบริเวณส่วนด้านหลังของอาคารให้แก่เพื่อนๆ ไปว่า ถึงแม้ส่วนของโครงสร้างอาคารพวกนี้จะเป็นเพียงส่วนโครงสร้างรองไมได้เป็นส่วนของโครงสร้างหลักของอาคารก็ตามแต่หากเราใช้ระบบโครงสร้างที่ขาดซึ่งเสถียรภาพที่ดีเพียงพอหรือมีความไม่เหมาะสมใดๆ ก็แล้วแต่ นั่นอาจจะเป็นต้นเหตุของปัญหาจุกจิกต่างๆ ของการใช้งานของโครงสร้างมากมายเลยก็ได้ เช่น อาจจะเกิดการทรุดตัวของโครงสร้างจนทำให้เกิดการดึงรั้งกันของโครงสร้างทั้งสองส่วนและอาจจะส่งผลทำให้เกิดน้ำรั่วซึมลงมา โดยเริ่มจากปริมาณน้ำน้อยๆ จนกลายเป็นน้ำปริมาณมากขึ้นๆ จนในที่สุดทำให้เกิดความน่ารำคาญใจขึ้น เป็นต้น … Read More

การเปลี่ยนแปลงรายละเอียดในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้ทำการโพสต์เอาไว้เมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่า ในกรณีที่ทางผู้รับจ้างทำงานก่อสร้างนั้นมีความต้องการที่จะเปลี่ยนชั้นคุณภาพของเหล็กเสริมนั้น เราไม่สามารถที่จะอาศัยวิธีในการเทียบสัดส่วนระหว่างค่ากำลังของคอนกรีตและเหล็กเสริมโดยตรงได้ ซึ่งการเปลี่ยนจะสามารถทำได้ก็ต่อเมื่อได้การทำการออกแบบชิ้นส่วนโครงสร้างนั้นๆ ใหม่เท่านั้น ซึ่งก็มีเพื่อนๆ หลายคนของผมสอบถามเข้ามาในอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมมาว่า “ถ้าไม่สามารถอาศัยวิธีในการเทียบสัดส่วนระหว่างค่ากำลังของคอนกรีตและเหล็กเสริมโดยตรงได้แล้วเหตุใดพวกเค้าจึงเห็นว่าวิศวกรผู้ทำหน้าที่ในการควบคุมการทำงานในสถานที่ก่อสร้างของพวกเค้าทำการคำนวณหาเหล็กเสริมใหม่โดยการเทียบสัดส่วนโดยตรงเลยละ แบบนี้เค้าทำผิดใช่หรือไม่ครับ ?” ผมขอตอบแบบนี้นะ สาเหตุที่เพื่อนๆ … Read More

การเปลี่ยนแปลงรายละเอียดในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   สืบเนื่องจากเมื่อช่วงก่อนหน้านี้ผมได้รับคำถามผ่านเข้ามาทางช่องทางข้อความส่วนตัวของผมซึ่งคนที่ถามนั้นเป็นรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่ง ซึ่งคำถามก็มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องข้อกำหนดเกี่ยวกับเรื่อง การเปลี่ยนรายละเอียดต่างๆ ในการเสริมเหล็กในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยที่มีใจความของคำถามดังนี้ครับ “หากเดิมทีในแบบวิศวกรรมโครงสร้างได้ระบุเอาไว้อย่างชัดเจนว่า ให้ใช้คอนกรีตและเหล็กเสริมเป็นชั้นคุณภาพแบบใด ใช้ขนาดและจำนวนเป็นเท่าใด ไม่ทราบว่าหากผู้รับเหมาจะขอทำการเปลี่ยนในเรื่อง ชั้นคุณภาพ ขนาด … Read More

เหตุอาคารนั้นเกิดการวิบัติขึ้นในจังหวัดสมุทรสาคร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณเดือนสิงหาคมที่ผ่านมาได้เกิดเหตุอาคารหอพักขนาดความสูง 3 ชั้น นั้นได้เกิดการวิบัติขึ้นในจังหวัดสมุทรสาคร ทำให้ในตอนนั้นทาง วสท ซึ่งมีท่านอาจารย์ธเนศ วีระศิริ เป็นหัวหน้าคณะได้ทำการเข้าสำรวจอาคารเพื่อทำการวินิจฉัยในเบื้องต้นเกี่ยวกับสถานการณ์ของการที่อาคารนั้นได้เกิดการวิบัติและผมก็ได้นำเอาข้อมูลที่เป็นข้อวินิจฉัยในเบื้องต้นรวมถึงบทความที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเหตุการณ์ๆ นี้เอามาฝากเพื่อนๆ ไปก่อนหน้านี้ไปเป็นที่เรียบร้อย ล่าสุดในวันนี้อาคารหลังนี้ได้รับการตรวจสอบโดยละเอียดแล้ว … Read More

บรรยากาศงานวันบรรยายเรื่องวิศวกรรมการสั่น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากในสัปดาห์ที่แล้วผมได้มีโอกาสได้เข้าร่วมงานบรรยายวิชาการดีๆ นั่นก็คือ การบรรยายเกี่ยวกับหัวข้อ VIBRATION CONTROL ที่จัดโดยกรมโยธาธิการและผังเมืองร่วมกันกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งผมมองว่าเป็นงานบรรยายที่ดีมากๆ ส่วนตัวนั้นผมอยากที่จะให้มีงานบรรยายและการจัดงานเช่นนี้บ่อยๆ เพราะจะเป็นประโยชน์ต่อวิศวกรและผู้สนใจมากๆ เลยนะครับ เอาเป็นว่าในวันนี้ผมได้นำเอาลิงค์ให้ดาวน์โหลดเอกสารต่างๆ ที่ได้ใช้ในการบรรยายของวิทยากรทุกๆ ท่าน ซึ่งเพื่อนๆ ก็สามารถที่จะหาโหลดกันมาอ่านเพื่อเป็นความรู้ได้เลย อีกทั้งยังมีรูปบรรยากาศต่างๆ ในงานวันบรรยายเอามาฝากเพื่อนๆ ทุกๆ … Read More

แรงภายในของโครงสร้างพื้นยื่นและวิธีในการพิจารณาออกแบบ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   สืบเนื่องจากเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมานั้นได้เกิดเหตุโครงสร้างกันสาดนั้นเกิดการวิบัติลงมา ซึ่งผมเชื่อเหลือเกินว่าคงจะมีเพื่อนๆ หลายๆ คนที่มีความสงสัยว่า เพราะเหตุใดหนอเจ้าโครงสร้างกันสาดนี้จึงได้วิบัติลงมาได้ เอาเป็นว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาอธิบายถึงประเด็นๆ นี้ให้เพื่อนๆ ได้รับทราบไปพร้อมๆ กันแต่ก่อนอื่น ผมคงต้องขออธิบายแบบออกตัวเอาไว้ตรงนี้ก่อนว่า ผมไม่ได้จะบอกว่า … Read More

ค่ากำลังรับแรงแบกทานของโครงสร้างฐานรากแบบตื้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปที่แสดงจะเห็นได้ว่าเป็นกรณีของรูปตัดของโครงสร้างฐานรากแบบตื้นโดยที่คุณสมบัติต่างๆ ของทุกๆ อย่างของทั้ง 3 กรณีนี้จะเหมือนกันทุกประการยกเว้นเพียงอย่างเดียวนั่นก็คือ … Read More

1 3 4 5 6 7 8 9 32