ความรู้เกี่ยวกับการทำงานเสาเข็มและฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อวันอังคารที่ผ่านมาผมได้ทำการไลฟ์สดร่วมกันกับทีมงานของภูมิสยามฯ และในวันนั้นผมได้ทำการอธิบายให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันว่าความแตกต่างระหว่างเสาเข็มที่มีหน้าตัดเป็นรูปทรงตัวไอกับเสาเข็มรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสนั้นมีอะไรบ้าง ซึ่งผมก็เชื่อเหลือเกินว่าคงจะเพื่อนๆ หลายๆ คนที่อยู่ในแฟนเพจของเรานั้นอาจจะมีความสงสัยไม่มากก็น้อยว่าแล้วในกรณีของเสาเข็มที่มีหน้าตัดเป็นรูปทรงกลมละจะมีความเหมือนหรือแตกต่างออกไปจากเสาเข็มที่มีหน้าตัดเป็นรูปทรงตัวไอกับเสาเข็มรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสมากหรือน้อยเพียงใด ดังนั้นในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตมาทำการพูดถึงเรื่องๆ นี้นั่นเองครับ เท้าความไปถึงเนื้อหาที่ผมได้ไลฟ์สดกันสักเล็กน้อยก่อนก็แล้วกันที่ผมได้ทำการอธิบายกับเพื่อนๆ ไปว่า … Read More

การพิจารณาเรื่องดินว่ามีโอกาสจะเกิดการทรุดตัวหรือไม่?

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ในรูปทั้งสองที่ผมได้แนบมาในโพสต์ๆ นี้จะแสดงให้เห็นถึงผลที่ได้จากการทำการทดสอบดินหรือ SOIL BORING TEST จากในสถานที่ก่อสร้างจริงแห่งหนึ่งในเขตจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ … Read More

โครงสร้างที่จะถูกวางตัวลงไปบนดินโดยตรง หรือ GRADED STRUCTURE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ หากว่าเพื่อนๆ มีความสงสัยว่า หากเรามีความต้องการที่จะทำโครงสร้างที่จะถูกวางตัวลงไปบนดินโดยตรง หรือ GRADED STRUCTURE เราจะมีวิธีอย่างไรในการที่จะทราบได้ว่า ดินข้างใต้ที่จะทำหน้าที่ในการรับน้ำหนักโครงสร้างนั้นๆ จะมีโอกาสที่จะเกิดการทรุดตัวได้มากหรือน้อยเพียงใด วันนี้ผมมีคำแนะนำขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องๆ … Read More

ถาม-ตอบชวนสนุก – ประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปโครงสร้างหลังคายื่น หรือ CANOPY ROOF STRUCTURE A B … Read More

วิศวกรรมการคำนวณ – การออกแบบการสั่น อันเนื่องมาจากเครื่องจักร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้เมื่อสัปดาห์ก่อนว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาเรื่องราวรายละเอียดต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องการออกแบบการสั่นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรเอามามาพูดถึงและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ให้มีความรู้และความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นและหากจะว่ากันด้วยเรื่องรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกันกับเรื่องๆ นี้แล้วเนื้อหาทั้งหมดของมันนั้นมีอยู่ด้วยกันค่อนข้างที่จะเยอะมากเลยทีเดียว ดังนั้นเพื่อให้การโพสต์ตลอดก่อนที่จะถึงช่วงปีใหม่นั้นมีความกระชับและได้ประโยชน์สูงสุดผมจึงจะขออนุญาตเลือกหัวข้อที่มีความสำคัญมาก 2 ประเด็นมาพูดถึงนั่นก็คือ 1. รูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร 2. รูปแบบและวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักร เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้พูดถึงหัวข้อที่ 1 เรื่องรูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร และในสัปดาห์นี้ซึ่งก็คือวันศุกร์ที่ 25 ก็จะถือได้ว่าเป็นวันศุกร์สุดท้ายของปี … Read More

วิธีในการจำแนกว่า จุดต่อ SIMPLY SUPPORT

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการอธิบายกับเพื่อนๆ ถึงวิธีในการจำแนกว่า จุดต่อของเรานั้นเป็นจุดต่อแบบใดระหว่างจุดต่ออย่างง่าย หรือ SIMPLY SUPPORT เพียงเท่านั้น หรือ จุดต่อแบบยึดแน่น หรือ RIGID CONNECTION … Read More

ประสบการณ์เกี่ยวกับ การก่อสร้างเสาเข็มที่มีคุณภาพไม่ดี

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อประมาณสองถึงสามสัปดาห์ก่อนหน้านี้ได้มีแฟนเพจท่านหนึ่งได้ทำการสอบถามเข้ามาในอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมโดยมีใจความของข้อความว่า “ทราบมาว่าตัวผมนั้นทำหน้าที่เป็นผู้ออกแบบและผู้ควบคุมการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเป็นหลัก เลยอยากจะถามว่าจากประสบการณ์ส่วนตัวของผมนั้นเคยเจอกรณีใดที่มีการทำงานการก่อสร้างเสาเข็มที่มีคุณภาพแบบแย่ๆ เป็นอย่างไรบ้าง ถ้าหากว่าเป็นไปได้ก็อยากให้ผมนั้นยกตัวอย่างเป็นรูปหรือกรณีประกอบคำอธิบายด้วยก็น่าจะดีครับ” จริงๆ ผมก็คิดอยู่นานนะว่าจะเอาอย่างไรดีเพราะมีหลายๆ โครงการเลยที่เป็นกรณีแบบนี้ ซึ่งผมคิดไปคิดมาแล้วผมจึงตัดสินใจขอยกเอากรณีศึกษาจากโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่งก็แล้วกัน ซึ่งผมก็จะขอออกตัวเอาไว้ก่อนล่วงหน้าเลยว่า … Read More

ประเภทของจุดต่อโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ในรูปๆ นี้เพื่อนๆ จะเห็นได้ว่าจะเป็นรูปของโครงสร้างสะพานเชื่อมซึ่งมีการทำขึ้นมาจากโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ คำถามในวันนี้ก็ยังคงสั้นๆ และง่ายๆ เหมือนเดิมนั่นก็คือ ที่จุดต่อที่ผมได้ทำการวงเอาไว้ด้วยวงกลมสีเหลืองของเจ้าโครงสร้างสะพานเชื่อมนี้จะเป็นจุดต่อแบบใดระหว่าง … Read More

งานออกแบบทางด้านระบบบำบัดน้ำเสีย

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ วันนี้ผมจะมาแนะนำและแชร์ความรู้ให้กับเพื่อนๆ แฟนเพจทุกๆ ท่านเกี่ยวกับเรื่องๆ หนึ่งที่ถือได้ว่ามีความสำคัญมากอย่างหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกันกับงานทางด้านวิศวกรรมโยธาโดยตรงแต่ว่าหลายๆ คนอาจจะไม่ทราบนั่นก็คือ ระบบบำบัดน้ำเสีย หรือ WATER SEWAGE SYSTEM นะครับ สาเหตุที่หลายๆ … Read More

ความรู้เกี่ยวกับการทำงานเสาเข็มและฐานราก การแก้ปัญหาโครงสร้างพื้นที่มีการทรุดตัวไม่เท่ากัน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้นำเอากรณีตัวอย่างของของการแก้ไขเหตุการณ์ที่โครงสร้างส่วนล่างนั้นเกิดการทรุดตัวที่แตกต่างกันบ้าง ซึ่งวิธีดังกล่าวนั้นเป็นเพียงวิธีการง่ายๆ ใช้งบประมาณไม่เยอะเท่าใดนัก ซึ่งวิธีการที่ว่าก็คือ การปล่อยให้โครงสร้างส่วนล่างหรือจะเรียกว่าพื้นก็ได้ ให้เกิดการทรุดตัวแบบแตกต่างกันไปเลยโดยที่จะไม่ทำการซ่อมแซมโครงสร้างทั้งส่วนใหม่และเก่านี้เลย โดยเพียงแค่ทำการซ่อมแซมเฉพาะแค่รอยต่อระหว่างโครงสร้างพื้นทั้งสองโดยการใช้ยางมะตอยหรือ ASPHALT เป็นตัวเชื่อมและประสานปิดระหว่างรอยแยกดังกล่าวนี้ สาเหตุที่ผมได้แจ้งไปตอนต้นว่างบประมาณที่ต้องใช้ในการซ่อมแซมด้วยวิธีการนี้จะมีราคาที่ค่อนข้างต่ำนั้นเป็นเพราะว่า … Read More

1 2 3 4 5 6 7 8 32