การคำนวณหา ตำแหน่งจุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มเหล็กเสริม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้ ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปเป็นการจัดวางเหล็กเสริมในหน้าตัดโครงสร้างคาน คสล รับแรงดัด โดยที่ในเหล็กที่อยู่ในแถวล่างจะประกอบไปด้วยเหล็กข้ออ้อยขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 16 มม และ 25 … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม แปลนของโครงสร้างฐานรากที่ใช้จำนวนของโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะมาขอยกตัวอย่างสักหนึ่งตัวอย่างซึ่งก็จะมีความต่อเนื่องกับโพสต์เมื่อสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้ทำการอธิบายไปว่า การที่เพื่อนๆ มักจะได้ยินคำแนะนำมาว่า จะต้องทำการเสริมโครงสร้างเสาเข็มให้เป็นแบบ “เลขคู่” เสมอนั้น ยังถือว่า “ไม่ถูกต้อง” เสียทีเดียวเพราะถ้าจะให้คำแนะนำที่มีความถูกต้องจริงๆ ควรจะต้องพูดว่า … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ จริงๆ แล้วผมตั้งใจที่จะนำเอาคำถามที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อๆ นี้ไปตอบในวันศุกร์ซึ่งก็คือวันพรุ่งนี้ ซึ่งสุดท้ายสาเหตุที่ผมได้เลือกนำเอามาโพสต์ในวันนี้เป็นเพราะคำถามในวันนี้จะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากเสาที่อาศัยเข็มในการรับน้ำหนักนั่นเองครับ เนื่องจากว่าในช่วงเวลานี้ผมกำลังทำงานที่มีความเกี่ยวข้องกันกับการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างเดิมอยู่พอดิบพอดี ซึ่งหนึ่งในโครงสร้างเหล่านั้นก็จะประกอบไปด้วยโครงสร้างฐานรากด้วย ซึ่งคำถามนั้นมาจากทางลูกค้าที่ได้สอบถามผมเข้ามาว่า “เพราะเหตุใดเวลาที่เราจะทำการเสริมโครงสร้างฐานรากที่อาศัยโครงสร้างเสาเข็มในการรับน้ำหนักไม่ว่าจะเป็นโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มจำนวน 1 ต้น … Read More

โครงสร้างฐานรากซึ่งคอยทำหน้าที่เป็นโครงสร้างรั้วให้แก่โครงสร้างแห่งหนึ่ง ซึ่งได้เกิดรูปแบบ “กึ่งวิบัติ” ขึ้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมมีรูปจริงๆ ของระบบโครงสร้างฐานรากซึ่งคอยทำหน้าที่เป็นโครงสร้างรั้วให้แก่โครงสร้างแห่งหนึ่ง ซึ่งได้เกิดรูปแบบ “กึ่งวิบัติ” ขึ้น สาเหตุที่ผมใช้คำว่า กึ่งวิบัติ นั้นเป็นเพราะว่าถึงแม้ว่าโครงสร้างเสานั้นจะเกิดรอยร้าวที่มองเห็นได้อย่างชัดเจนด้วยตาเปล่าเลยแต่ก็ยังดีว่าระบบโครงสร้างโดยรวมนั้นยังไม่ได้ถึงขั้นเกิดการวิบัติอย่างสมบูรณ์ โดยที่เจ้าของนั้นก็คงจะสังเกตเห็นและก็ทำการใช้ท่อนไม้ในการทำหน้าที่เป็นโครงสร้างค้ำยันให้แก่ระบบโครงสร้างนี้ได้ทันการพอดีน่ะครับ โดยที่ผมได้ตั้งข้อสันนิษฐานว่า … Read More

โครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ในรูปๆ นี้เพื่อนๆ จะเห็นได้ว่าเป็นรูปโครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณซึ่งมีขนาดความกว้างและยาวในแต่ละด้านที่เท่าๆ กันนั่นก็คือเท่ากับ 400 มม โดยที่เจ้าแผ่นเหล็กนี้จะต้องทำหน้าที่ในการรับแรงกระทำในแนวดิ่งมีค่าเท่ากับ … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ หลังจากที่เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้นำเอาประเด็นคำถามเกี่ยวกับเรื่องความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็มในหัวข้อที่ว่า เหตุใดเวลาที่เราทำการคำนวณโครงสร้างเสาเข็มที่มีรูปทรง หรือ มีขนาดกว้างและยาว หรือ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ที่เท่าๆ กัน … Read More

การออกแบบ โครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ หรือ BEAM BEARING PLATE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้ทำการอธิบายถึงวิธีในการออกแบบ โครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ หรือ BEAM BEARING PLATE ซึ่งผมได้ขออนุญาตใช้วิธีในการออกแบบตามมาตรฐาน AISC โดย วิธีการหน่วยแรงที่ยอมให้ หรือ ALLOWABLE … Read More

เทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากการที่มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งเค้าคงจะทราบมาว่าตัวผมนั้นเป็นสามัญวิศวกรโยธาที่ทำงานทางด้านการออกแบบและการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างมาก็ไม่น้อย เค้าจึงได้ฝากคำถามสั้นๆ แต่ได้ใจความเข้ามาคำถามหนึ่งในทำนองว่า อยากให้ผมให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับ หรือเขียนสั้นๆ ว่า FEA เวลาที่ผมจะต้องทำการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างงานใดๆ ก็ตาม ซึ่งพอผมเจอกับคำถามๆ นี้ผมก็นั่งคิดคำตอบอยู่ครู่หนึ่งเพราะเอาเข้าจริงๆ … Read More

สการทดสอบเพื่อหาความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการทดสอบทางอ้อม ด้วยวิธี PARALLEL SEISMIC TEST

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ คำถามๆ หนึ่งซึ่งตัวผมเองเคยได้รับมาค่อนข้างที่จะบ่อยมากๆ เวลาที่ต้องไปทำการสำรวจโครงสร้างอาคารเลยก็คือ จำนวนน้อยที่สุดในการที่เราจะทำการทดสอบโครงสร้างเสาเข็มด้วยวิธี PARALLEL SEISMIC TEST นั้นควรเป็นจำนวนเท่าใด ? ซึ่งผมก็คงจะให้คำตอบเหมือนในทุกๆ … Read More

ความรู้เรื่องโครงสร้างพื้นที่มีการใช้งานในโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ หรือ STRUCTURAL STEEL

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตอนนี้เรากำลังพูดถึงเรื่องงาน โครงสร้างเหล็กรูปพรรณ หรือ STRUCTURAL STEEL กันอยู่และหลังจากที่ก่อนหน้านี้ผมได้พูดถึงหลายๆ เรื่องที่มีความเกี่ยวพันกันกับโครงสร้างเหล็กรูปพรรณไปแล้ว เช่น โครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณ หรือ STRUCTURAL STEEL … Read More

1 2 3 4 5 6 7 32