ระบบโครงสร้างฐานรากแบบตื้น หรือ SHALLOW FOUNDATION

ระบบโครงสร้างฐานรากแบบตื้น หรือ ในภาษาอังกฤษเราจะเรียกว่า SHALLOW FOUNDATION โดยเราจะสามารถทำการจำแนกประเภทของฐานรากว่าฐานรากของเราเป็น แบบตื้น ก็ต่อเมื่อค่าอัตราส่วน ความลึก ที่ระดับปลายล่างสุดของฐานรากต่อ ความกว้าง ที่ระดับปลายล่างสุดของฐานรากนั้นมีค่าน้อยกว่า หรือ เท่ากับ 1.00 นะครับ เช่น ความลึกเท่ากับ 2.00 ม … Read More

เมื่อเสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ไปแล้ว ตัวโครงสร้างของเสาเข็มของเราจะเกิดการวิบัติเลยหรือไม่ ?

สวัสดีครับ ช่วงบ่ายแบบนี้ก็มาเจอกับ Mr.เสาเข็ม พร้อมสาระความรู้เกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรม อีกเช่นเคยนะครับ วันนี้จะนำเสนอในหัวข้อ เมื่อเสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ไปแล้ว ตัวโครงสร้างของเสาเข็มของเราจะเกิดการวิบัติเลยหรือไม่ ? เมื่อใดที่เราทำการตรวจสอบแล้วพบว่าพจน์ที่เป็นตัวหารในสมการหาค่าแรงปฏิกิริยาในเสาเข็มกรณีที่เสาเข็มไม่มีคุณสมบัติทางด้านความสมมาตรออกมามีค่าเท่ากับ ศูนย์ หรือ Ix Iy – Ixy^(2) = 0 ซึ่งการที่ผลการคำนวณในพจน์ๆ ออกมาเป็นเช่นนี้ก็จะเป็นการบ่งบอกกับเราว่า เสาเข็มจะไม่มีเสถียรภาพเพียงพอต่อการใช้งาน … Read More

การคำนวณหาค่าเจาะจง (EIGENVALUE PROBLEM)

สวัสดีครับ Mr.เสาเข็ม มาแล้วนะครับ มาพร้อมความรู้และสาระดีดี เกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรม วันนี้จะมาในเรื่องของ การคำนวณหาค่าเจาะจง (EIGENVALUE PROBLEM) หากจะทำการเปรียบเทียบระหว่างการคำนวณหาค่าคำตอบต่างๆ ในการวิเคราะห์ผลตอบสนองต่างๆ ของโครงสร้างนั้น ก็เสมือนกับการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์อย่างหนึ่งนะครับ ในบางครั้งการคำนวณในระดับที่มีความละเอียดซับซ้อนมากๆ ก็อาจจะใช้เวลาในการหาคำตอบที่ค่อนข้างนานกว่าปกติ โชคดีว่าในปัจจุบันเรามีเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาช่วยมากมาย ไม่ว่าจะเป็น ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ หรือแม้กระทั่ง … Read More

ระบบโครงสร้างฐานรากแบบตื้น (SHALLOW FOUNDATION)

เวลา 4 โมงเย็น วันเสาร์แบบนี้ เหมาะจริงๆครับ ที่ Mr.เสาเข็ม จะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับการก่อสร้างนะครับ วันนี้จะมาแชร์เรื่อง ระบบโครงสร้างฐานรากแบบตื้น (SHALLOW FOUNDATION) ระบบโครงสร้างฐานรากแบบตื้น หรือ ในภาษาอังกฤษเราจะเรียกว่า SHALLOW FOUNDATION โดยเราจะสามารถทำการจำแนกประเภทของฐานรากว่าฐานรากของเราเป็น แบบตื้น ก็ต่อเมื่อค่าอัตราส่วน ความลึก … Read More

SPUN MICROPILE เสาเข็มสปันไมโครไพล์ – Last 10 Blow Count

สวัสดีครับ วันนี้ Mr.เสาเข็ม จะมาแนะนำถึงการตรวจสอบความปลอดภัยในการตอกเสาเข็มด้วยวิธี Last 10 Blow Count กันนะครับ โดยปกติถ้าเป็นดินที่อยู่แถวกรุงเทพฯ ซึ่งจะเป็นดินอ่อน การจะตอกเสาเข็มให้ลึกจนถึงชั้นดินแข็งได้ก็จะต้องตอกให้ลึกประมาณ 21 เมตร หากใช้เสาเข็มแบบสปันไมโครไพล์ก็จะต้องใช้เสาเข็ม 14 ท่อนในการตอก 1 ต้น แต่เนื่องจากว่าหน้าดินของแต่ละที่ไม่เหมือนกันดังนั้นจึงต้องหาวิธีที่เป็นมาตรฐานในการทดสอบว่าเสาเข็มที่ตอกไปลงลึกจนถึงระดับที่จะสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ … Read More

คานคอดิน (GROUND BEAM) ควรอยู่สูงจากระดับพื้นดินเท่าไหร่

คานคอดิน (Ground Beam) คือส่วนประกอบโครงสร้างบนดินที่รับน้ำหนักพื้น ผนัง และสิ่งที่อยู่เหนือคานคอดินขึ้นไป แล้วจึงถ่ายน้ำหนักไปยังตอม่อและฐานรากต่อไป การก่อสร้างคานคอดิน แบ่งจากระดับความสูงจากพื้นดินได้ 2 แบบ คานคอดินวางอยู่บนระดับดิน เนื่องจากระดับพื้นชั้นล่างอยู่สูงจากระดับดินไม่มากนัก ในการก่อสร้างจึงมักทำเนินดินให้สูงเสมอท้องคานคอดิน และเทลีน (Lean) เพื่อใช้เป็นแบบหล่อท้องคานแทนการใช้ไม้แบบ และใช้ไม้แบบเฉพาะด้านข้างคานทั้งสองด้าน คานคอดินอยู่สูงจากระดับดินมากกว่า 1 … Read More

อิฐมวลเบา (LIGHTWEIGHT CONCRETE)

อิฐมวลเบา (Lightweight Concrete) คือคอนกรีตมวลเบาหรืออิฐมวลเบา เป็นวัสดุสำหรับก่อผนังสำหรับอาคารสูงหรือบ้านที่อยู่อาศัย เป็นวัสดุก่อที่นำเทคโนโลยีการผลิตมาจากต่างประเทศ มีทั้งแบบบล็อกตันและบล็อกกลวง (คล้ายคอนกรีตบล็อก) ขนาดใหญ่ แต่น้ำหนักเบามากกว่าเนื่องจากมีฟองอากาศขนาดเล็กกระจายอยู่อย่างสม่ำเสมอในเนื้อวัสดุ อิฐมวลเบามีขนาดมาตรฐาน กว้าง 20 x 20 เซนติเมตร และมีความหนาตั้งแต่ 7.5, 10, 12.5, … Read More

สารยับยั้งการเกิดสนิมของเหล็กเสริม (CORROSION INHIBITOR)

การเกิดสนิมของเหล็กเสริมในโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก เป็นปัญหาสำคัญที่ก่อให้เกิดความเสียหายทั้งรอยแตกร้าว คราบน้ำสนิม การหลุดร่อนของคอนกรีต รวมไปถึงการพังทลายของโครงสร้าง ความเสียหายที่มักพบเนื่องจากสาเหตุการเกิดสนิมได้แก่ คราบน้ำสนิมบนผิวคอนกรีต รอยแตกร้าวเนื่องจากการขยายตัวของสนิมเหล็ก การระเบิดออกของผิวคอนกรีต ซึ่งหากไม่มีการซ่อมแซมโครงสร้างดังกล่าวอย่างถูกต้องเหมาะสม อาจนำไปสู่การพังทลายของโครงสร้างได้ การซ่อมแซมการเกิดสนิมอีกวิธีวิธีที่ได้รับการนิยมเป็นอย่างสูง ได้แก่ การใช้สารยับยั้งการเกิดสนิม ซึ่งมีความสะดวกในการดำเนินการ และอาจใช้ควบคู่ไปกับวิธีการป้องกันและซ่อมแซมอื่นๆ ได้ เพื่อให้ระบบการป้องกันและซ่อมแซมมีความประสิทธิภาพ และมีความคงทนมากยิ่งขึ้น สารยับยั้งการเกิดสนิม (Corrosion Inhibitor) … Read More

สนิมในเหล็กเสริมคอนกรีตคืออะไร มีข้อเสียยังไง แล้วจะแก้ปัญหานี้ได้อย่างไร

ปัญหาการเกิดสนิมในเหล็กเสริมคอนกรีต เป็นปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคงแข็งแรงของอาคาร โดยเฉพาะอาคารที่ถูกสร้างมานานหลายปี ปัญหาที่เกิดจากการเกิดสนิมในเหล็กเสริมจะทำให้พื้นที่หน้าตัดของเหล็กลดลงและคอนกรีตหุ้มเหล็กเสริมเกิดรอยแตกร้าวหลุดร่อนออกไป ทำให้สูญเสียความสามารถในการรับแรง อาคารเก่าแก่ที่มีอายุการใช้งานมานาน เมื่อเกิดปัญหาการเกิดสนิมในเหล็กเสริมคอนกรีตที่รุนแรง จะส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพของอาคารและเกิดความรู้สึกไม่ปลอดภัยต่อผู้ใช้อาคาร กลไกการเกิดสนิมเหล็ก การเกิดสนิมเหล็กเป็นผลจากการทำปฏิกิริยาเคมีของเหล็ก เป็นปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้า (electronchemical) ของเหล็กกับสารประกอบที่ปะปนในสิ่งแวดล้อมที่สัมผัสกับเหล็กนั้นๆ กระบวนการเกิดสนิมเหล็กโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเกิดสนิมในเหล็กที่มีวัสดุอื่นมาปกคลุมผิว เช่น โครงเหล็กของอาคารที่ผิวทาสีกันสนิมหรือในเหล็กเสริมคอนกรีต จะมีกระบวนการเกิดสนิมที่ซับซ้อน ค่อยเป็นค่อยไป   การเกิดสนิมเหล็ก … Read More

ระยะคอนกรีตหุ้มผิวเหล็ก (CONCRETE COVERING) มีระยะต่ำสุดที่เท่าไหร่

ระยะคอนกรีตหุ้มผิวเหล็กหรือระยะหุ้มของคอนกรีต (Concrete Covering) ก็คือระยะของคอนกรีตที่ทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้เหล็กเสริมสัมผัสกับน้ำหรืออากาศโดยตรงเพื่อทำหน้าที่ป้องกันการกัดกร่อนของสารเคมี หรือป้องกันไม่ให้เหล็กเสริมทำปฏิกิริยากันเหล็กเสริมจนทำให้เกิดสนิมขุม และทำให้โครงสร้างสูญเสียความสามารถในการรับกำลังในที่สุด ทั้งนี้การวัดความหนาของระยะคอนกรีตหุ้มผิวเหล็กหรือระยะหุ้มของคอนกรีต ให้วัดจากผิวด้านนอกของคอนกรีตลึกเข้าไปจนถึงผิวด้านนอกของเหล็กปลอก (ในกรณีที่ไม่มีเหล็กปลอกก็ให้วัดถึงผิวของเหล็กเสริมเส้นนอกสุด) สำหรับระยะห่างระหว่างเหล็กเสริมนั้น ACI กำหนดให้ระยะช่องว่างน้อยที่สุดระหว่างเหล็กเสริมเท่ากับค่าที่มากกว่าของเส้นผ่าศูนย์กลางเหล็กเสริม DB, 2.5 ซ.ม. และ 1.33 เท่าของขนาดมวลรวมโตสุด โดยเหล็กนอนในคานทั้งหมดจะถูกห่อหุ้มโดยเหล็กปลอก ระยะหุ้มคอนกรีตต่ำสุดที่ … Read More

1 28 29 30 31 32