แผ่นพื้นคอนกรีตสำเร็จรูป ที่มีการใช้ในงานการก่อสร้างโดยทั่วๆ ไป

แผ่นพื้นคอนกรีตสำเร็จรูป ที่มีการใช้ในงานการก่อสร้างโดยทั่วๆ ไป แผ่นพื้นคอนกรีตสำเร็จรูปที่มีการใช้ในงานก่อสร้างโดยทั่วๆ ไปนั้นสามารถจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ด้วยกัน คือ (1) แผ่นพื้นสำเร็จรูปแบบ คสล (2) แผ่นพื้นสำเร็จรูปแบบ คอร โดยปกติแล้วในการใช้งานแผ่นพื้นสำเร็จรูปไม่ว่าจะเป็นแบบใดๆ ก็ตาม เรามักที่จะทำการก่อสร้างด้วยวิธีการที่มีความคล้ายคลึงกันนะครับ เริ่มต้นจากการนำแผ่นพื้นนี้มาวางพาดตามทิศทางที่ทางผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดมาในแบบวิศวกรรมโครงสร้างบนคานที่ทำหน้าที่รับ นน … Read More

ตารางที่แสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่เราควรที่จะใช้ในการทดสอบดิน

ตารางที่แสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่เราควรที่จะใช้ในการทดสอบดิน หากขึ้นชื่อว่าเป็นวิศวกรที่ดี เรามักที่จะต้องเป็นนักปฎิบัติงานที่ต้องทำงานภายใต้มาตรฐานการทำงานที่ดีและมีความเชื่อถือได้ ทั้งนี้เพราะเมื่อต้องนำหลักการหนึ่งหลักการใดจากมาตรฐานเหล่านี้ไปปฎิบัติใช้ในการทำงานจริงๆ ได้เราก็ต้องสามารถที่จะอ้างอิงไปยังมาตรฐานนั้นๆ ได้ด้วยนะครับ ซึ่งผมถือว่าส่วนหนึ่งของคำถามข้อนี้นั้นเป็นความบกพร่องของผมเองนะครับที่ไม่ได้ทำการกล่าวอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูลๆ นี้นะครับ ยังไงผมจะขออนุญาตเก็บประเด็นนี้เอาไว้เพื่อที่จะดำเนินการแก้ไขในการโพสต์ครั้งต่อๆ ไปนะครับ เอาเป็นว่าผมขออนุญาตตอบคำถามข้อนี้เลยก็แล้วกันนะครับ ข้อมูลที่ผมได้ให้คำแนะนำไปกับเพื่อนๆ ไปนั้นมีการอ้างอิงมาจากเอกสารหนังสือ แนวทางการตรวจสอบชั้นดินเพื่องานฐานราก ในหน้าที่ 13 ถึง 14 ซึ่งได้จัดทำโดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย โดยเป็นเอกสารที่ถูกพิมพ์ไปเมื่อปี … Read More

ตารางแสดงความลึกของหลุมเจาะสำหรับเป็นแนวทางการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัด

ตารางแสดงความลึกของหลุมเจาะสำหรับเป็นแนวทางการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัด ก่อนอื่น เริ่มต้นดูรูปที่แสดงตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในพื้นที่ต่างจังหวัดกันก่อนนะครับ หากเพื่อนๆ สังเกตดูดีๆ จะพบว่าช่องที่แสดงค่า ความลึกของหลุมเจาะ ในตารางๆ นี้จะมีความแตกต่างออกไปจากตารางที่แสดงความลึกของหลุมเจาะที่ใช้เป็นแนวทางสำหรับการเจาะสำรวจชั้นดินในเขตพื้นที่ กทม และ ปริมณฑล ที่เคยนำมาเล่าให้ฟังก่อนหน้านี้นะครับ โดยที่ในช่องๆ นี้ของตารางที่แสดงนี้จะไมได้แสดงค่าความลึกของหลุมเจาะตรงๆ แต่ กลับแสดงว่าระยะนี้จะมีค่าเท่ากับระยะความลึกที่เมื่อทำการทดสอบ SPT เพื่อที่จะหาค่า N … Read More

ตัวอย่างการคำนวณและแปรผลเมื่อเราทำการทดสอบ PILE LOADING TEST

ตัวอย่างการคำนวณและแปรผลเมื่อเราทำการทดสอบ PILE LOADING TEST ในวันนี้เป็นผลจากการทดสอบด้วยวิธี PILE DYNAMIC LOAD TEST ซึ่งได้จากการทดสอบเสาเข็มจริงๆ ณ หน้างานนะครับ ซึ่งข้อมูลที่นำมาให้รับชมนี้เป็นแค่เพียงข้อมูลในเบื้องต้นเท่านั้น ทั้งนี้ก็เพื่อให้เพื่อนๆ ได้เห็นเป็น ตย นั่นเองนะครับ เรามาเริ่มต้นดูกันเลยก็แล้วกันนะครับ จากแผนภูมิๆ นี้เป็นเพียงแผนภูมิหนึ่งที่เป็นผลที่ได้จากการทดสอบเสาเข็มโดยวิธี … Read More

ระบบพื้น POST-TENSIONED

ระบบพื้น POST-TENSIONED ที่มักจะทำการออกแรงดึงลวดที่ 75% ของค่าแรงดึงสูงสุดนั้น เพราะเหตุใดจึงต้องทำการออกแรงดึงที่ค่าๆ นี้ และ จะดึงด้วยค่าอื่นที่อาจต่ำ หรือ สูงกว่าค่าๆ นี้ได้หรือไม่ ? คำตอบ คือ ได้ครับ แต่ ต้องมีประโยคที่เป็นข้อแม้ต่อท้ายด้วยนะครับ คือ จะทำให้เกิดผลเสียตามมาพฤติกรรมของตัวโครงสร้างนั่นเองครับ … Read More

ค่าสัดส่วนความปลอดภัย หรือ SAFETY FACTOR

ค่าสัดส่วนความปลอดภัย หรือ SAFETY FACTOR เวลาที่เราทำการออกแบบค่า นน บรรทุกปลอดภัยของเสาเข็มนั้น ค่า SAFETY FACTOR ที่เรานิยมใช้โดยทั่วๆ ไปนั้นเท่ากับ 2.5 หรือ น้อยที่สุดเท่ากับ 2 นั้น ทางผู้ออกแบบเค้ามีเกณฑ์อย่างไรที่ใช้ในการประเมินและพิจารณาให้ค่าๆ นี้ออกมาเป็นดังนี้ครับ ? … Read More

ใช้การก่ออิฐบล็อกใต้ท้องคานโดยตรงแทนที่เราจะทำการเทด้วย LEAN CONCRETE เราจะถือว่าการทำเช่นนี้ไม่ถูกต้องตามหลักการทางด้านวิศวกรรมหรือไม่

ใช้การก่ออิฐบล็อกใต้ท้องคานโดยตรงแทนที่เราจะทำการเทด้วย LEAN CONCRETE เราจะถือว่าการทำเช่นนี้ไม่ถูกต้องตามหลักการทางด้านวิศวกรรมหรือไม่ ถ้าหากเราว่ากันตามหลักการทางด้านวิศวกรรมที่ถูกต้องแล้ว การทำงานหล่อคานที่ชั้นล่างนั้นจะอนุญาตให้ทำได้ก็ต่อเมื่อฐานรองรับที่ทำขึ้นเพื่อรับท้องคานนั้นมีความมั่นคง เกิดการทรุดตัวที่ไม่แตกต่างกัน มีความแข็งแรงเพียงพอต่อการรับ นน ที่จะเกิดขึ้นเริ่มตั้งแต่การทำงานในตอนต้นไปจนกระทั่งกำลังของคอนกรีตในคานที่ชั้นล่างนี้จะสามารถรับกำลังได้ตามที่วิศวกรผู้ออกแบบได้ทำการออกแบบเอาไว้ครับ มีความง่ายต่อการถอดแบบ และ การบ่มคอนกรีต ส่วนสาเหตุของการเลือกใช้การก่อด้วยอิฐบล็อกแทนที่การเทด้วย LEAN CONCRETE ก็อาจเนื่องด้วยดินอาจจะมีความแข็งแรงมากอยู่แล้ว เช่น ดินที่อยู่ในสถานที่ก่อสร้างนั้นเป็นดินเดิม ไม่ใช่ดินถาม … Read More

วิธีแก้ปัญหาในกรณีที่การตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้โดยวิธีการหมุนฐานราก

วิธีแก้ปัญหาในกรณีที่การตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้โดยวิธีการหมุนฐานราก โดยการที่เราจะทำการแก้ไขฐานรากตามวิธีการที่ผมจะแนะนำให้แก่เพื่อนๆ ตามตัวอย่าง ในวันนี้มี วิธีในการทำงาน และ ข้อแม้ ในเบื้องต้นดังต่อไปนี้นะครับ (1) หากความผิดพลาดในการตอกเสาเข็มนั้นเป็นไปตามกรณีนี้ ทางผู้ควบคุมงานจำเป็นที่จะต้องทำการแจ้งปัญหานี้กับทางผู้ออกแบบเสียก่อนนะครับ เพราะ การที่เราจะแก้ไขปัญหาตามวิธีการนี้จะทำได้ก็ต่อเมื่อ ผู้ออกแบบได้ทำการออกแบบฐานรากโดยการจำลองจุดรองรับไว้เป็นแบบ จุดรองรับแบบยึดหมุน (PINNED SUPPORT) หรือ หากทำการจำลองจุดรองรับไว้เป็นแบบ จุดรองรับแบบยึดแน่น … Read More

หลักการของฐานแผ่ร่วม (COMBINE SPREAD FOOTING)

การออกแบบงานวิศวกรรมฐานรากแบบแผ่ในอาคาร อาจจะต้องประสบพบเจอกับปัญหา ทำให้เราไม่สามารถที่จะทำการวางฐานรากแบบเดี่ยว (ISOLATED SPREAD FOOTING) ได้ตามปกติ ดังนั้นหากเราต้องพบเจอกับกรณีแบบนี้ เราก็อาจจะจำเป็นที่จะต้องอาศัยหลักการของฐานแผ่ร่วม (COMBINE SPREAD FOOTING) เข้ามาใช้ในการออกแบบงานวิศวกรรมฐานราก เมื่อฐานรากแผ่แบบเดี่ยวนั้นถูกจำกัดไว้ด้วยตำแหน่งของเสาในอาคาร และ เขตพื้นที่ อันอาจจะทำให้เกิดการเยื้องศูนย์ (ECCENTRICITY) ระหว่างจุดศูนย์กลางของพื้นที่ฐานราก และ … Read More

วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่การตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้

วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่การตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้ ในรูป (A) เป็นรูปการวางตำแหน่งของเสาเข็มตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ในแบบ โดยจะสังเกตได้ว่าส่วนใหญ่แล้วผู้ออกแบบมักที่จะทำการกำหนดให้ระยะห่างระหว่างศูนย์กลางถึงศูนย์กลางของเสาเข็มนั้นมีระยะไม่น้อยกว่า หรือ เท่ากับ 3 เท่าของ D โดยที่ D คือ ระยะเส้นผ่าศูนย์กลางของเสาเข็มนะครับ เพราะ หากให้ระยะนี้น้อยกว่า 3 เท่าของ D จะทำให้แรงเค้นในมวลดินนั้นเกิดการซ้อนทับกัน … Read More

1 27 28 29 30 31 32