ปัญหาค่าความกว้างน้อยที่สุด ที่ไม่ทำให้ที่บริเวณขอบนอกสุดใต้ฐานรากแบบตื้น เกิดหน่วยแรงเค้นดึงขึ้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ผมขอทำการสมมติว่า ผมกำลังดำเนินการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างให้แก่ โครงสร้างฐานรากแบบตื้น หรือ SHALLOW FOUNDATION … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ExplainingAboutPDeltaAffect

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เมื่อประมาณ 2 ถึง 3 สัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้มีโอกาสสนทนากับเพื่อนๆ ในเฟซบุ้คส่วนตัวของผมเกี่ยวกับเรื่องขั้นตอนต่างๆ ในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างเสา ซึ่งเนื้อหาในวันนั้นผมได้พูดถึงหลายๆ หัวข้อที่มีความน่าสนใจ เช่น ค่า MAGNIFICATION … Read More

“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” แรงเฉือนโดยตรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ อย่างที่ผมได้เรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้แล้วว่าผมกำลังจะมาอธิบายและให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับการออกแบบ ชิ้นส่วนโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับ แรงเฉือนโดยตรง หรือ DIRECT SHEAR ซึ่งมีคำถามเข้ามาเยอะพอสมควรเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ ซึ่งถึงแม้โพสต์ในทุกๆ … Read More

“ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” การคำนวณหาค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ตามที่ผมได้เรียนกับเพื่อนๆ ไปว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยกตัวอย่างถึงเรื่องการคำนวณเกี่ยวกับเรื่องค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ หรือ EULER’S CRITICAL COMPRESSION LOAD หรือ ที่พวกเรานิยมเรียกชื่อนี้ว่า Pcr ซึ่งจริงๆ แล้วหากเพื่อนๆ … Read More

ความรู้เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง การออกแบบเสายาว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้เมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้ว่า ในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาตัวอย่างที่เป็นการแสดงขั้นตอนในการคำนวณหาค่า MAGNIFICATION FACTOR โดยวิธีการละเอียดเอามาฝากให้แก่เพื่อนๆ โดยที่ตัวอย่างที่ผมจะนำเอามาให้เพื่อนๆ ดูในวันนี้จะเป็นการอธิบายการคำนวณให้ดูเฉพาะเพียงแค่การรับแรงดัดรอบแกนอ่อนของโครงสร้างเสา หรือ WEAK AXIS เพียงแค่แกนเดียว … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม รูปแบบหลักของการทรุดตัวของโครงสร้างฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ หากเพื่อนๆ เป็นแฟนเพจของเรามานานน่าจะเคยได้อ่านบทความต่างๆ ของผมเกี่ยวกับเรื่องข้อเสียหรือความเสียหายต่างๆ ที่เกิดจาก การทรุดตัวของโครงสร้างฐานรากแบบไม่เท่ากัน หรือ DIFFERENTIAL SETTLEMENT อยู่บ่อยๆ ซึ่งผมมานั่งคิดๆ … Read More

สาเหตุของการที่ค่าตัวคูณลดกำลัง สำหรับกรณีของการที่ชิ้นส่วนต้องทำหน้าที่ในการรับแรงดัดในมาตรฐานการออกแบบสมัยใหม่และในอดีตนั้นมีค่าแตกต่างกัน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ คำถามในวันนี้ยังคงมาจากเพื่อนของผมท่านเดิม ดังนั้นจะมีความต่อเนื่องมาจากคำถามเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วนั่นก็คือ หากเพื่อนๆ สังเกตดูในรูปที่ 1 นั่นก็คือ สมการที่ใช้ในการคำนวณหาปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึงภายในหน้าตัดของโครงสร้างคาน คสล จะพบว่ามี ค่าตัวคูณลดกำลัง … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ปัญหาการคำนวณหาค่าหน่วยแรงแบกทานที่ยอมให้ของดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ผมขอทำการสมมติว่า เพื่อนๆ ต้องทำหน้าที่เป็นผู้ออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างในโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่ง โดยที่ผมขอทำการตั้งสมมติฐานในการออกแบบฐานรากแบบแผ่หรือ BEARING FOUNDATION … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตพาเพื่อนๆ ไปทำความรู้จักกันกับลักษณะของระบบโครงสร้างๆ หนึ่งซึ่งจริงๆ แล้วมีการใช้งานอย่างแพร่หลายโดยทั่วไปแต่สาเหตุที่เพื่อนๆ หลายๆ คนอาจจะไม่มีความคุ้นเคยหรืออาจจะยังไม่รู้จักกันกับระบบโครงสร้างนี้ดีเพียงพอนั่นก็เป็นเพราะโดยมากแล้วระบบโครงสร้างดังกล่าวนี้จะมีการใช้งานอยู่ในงานประเภทที่มีความเกี่ยวข้องกันกับงานอุตสาหกรรมเป็นหลัก ซึ่งเจ้าระบบโครงสร้างนี้มีชื่อว่า ระบบโครงสร้างสำหรับวางแนวท่อ หรือ PIPE RACK STRUCTURAL … Read More

เทคนิคในการเลือกใช้งานค่าแรงปฏิกิริยาของโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาซึ่งรวมถึงเมื่อวันอังคารที่ผ่านมาด้วยผมกำลังพูดถึงประเด็นเรื่อง วิธีการเติมโครงสร้างเสาเข็มใหม่เข้าไปในโครงสร้างฐานรากเดิมโดยที่ไม่เป็นการทำให้ตัวโครงสร้างฐานรากนั้นเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะทางด้านความสมมาตรไป ซึ่งประเด็นก็คือ ผมได้ให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ไปว่า หากเราเพิ่มโครงสร้างเสาเข็มเข้าไปใหม่ โดยที่มีขนาดเท่าๆ กันกับโครงสร้างเสาเข็มเดิมก็จะไม่มีปัญหาอันใด แต่ หากเราเพิ่มโครงสร้างเสาเข็มเข้าไปใหม่ … Read More

1 2 3 4 5 6 32