การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ อย่างที่ผมเรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อวานว่า วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการยก ตย พร้อมกับอธิบายหลักในการวิเคราะห์โครงสร้างคานรับแรงดัดที่ต้องรับแรงกระทำชนิดแผ่กระจายตัวแบบสม่ำเสมอ (DISTRIBUTED … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ หากเพื่อนๆ เคยเปิดอ่าน TEXT BOOK หรือ ตำราวิชาการวิเคราะห์ทางด้านวิศวกรรมโครงสร้าง … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาไขข้อข้องใจให้แก่เพื่อนๆ ถึงประเด็นที่ว่า เพราะเหตุใดในขั้นตอนของการตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ของทางภูมิสยามนั้นจึงต้องอาศัยเวลาในการทำงานการตอกเสาเข็มที่ค่อนข้างจะนานกว่าเสาเข็มตอกชนิดอื่นๆ เช่น ในวันหนึ่งๆ หากเป็นเสาเข็มต้นอื่นๆ อาจจะสามารถตอกเสาเข็มได้ 4 … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสะพาน

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสะพาน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสะพาน (STRUCTURAL BRIDGE ENGINEERING DESIGN หรือ SBE) นะครับ โดยที่หัวข้อวันนี้จะค่อนข้างกระชับและสั้นๆ แต่ ก็ถือได้ว่าเป็นหลักการสำคัญมากๆ อย่างหนึ่งที่วิศวกรโครงสร้างสะพานนำมาใช้ในการออกแบบโครงสร้างสะพาน นั่นก็คือการนำทฤษฎีในเรื่อง เส้นอิทธิพล หรือ มีชื่อเรียกในภาษาอังกฤษว่า INFLUENCE LINE … Read More

ระยะการยุบตัว หรือ Slump

ระยะการยุบตัว หรือ Slump ทราบกันหรือไม่ครับว่าเพราะเหตุใดค่าการยุบตัว หรือ SLUMP นี้จึงมีความสำคัญมากในการทำงานก่อสร้างโครงสร้าง คสล ? เพื่อนๆ ต้องไม่ลืมว่าในโครงสร้าง คสล นั้นนอกจาก คอนกรีต แล้วยังมี เหล็ก เป็นส่วนประกอบอยู่ด้วย ดังนั้นเมื่อเราทำการเทคอนกรีตลงไปในแบบที่มีเหล็กเสริมอยู่ เราจึงต้องมั่นใจได้ว่า คุณสมบัติของวัสดุทั้งสองเมื่อรวมกันแล้วจะต้องไม่ทำให้โครงสร้างนั้นอ่อนแอลง … Read More

การออกแบบเสาเข็มโดยให้เสาเข็มนั้นเป็นเสาเข็มแรงฝืด (SKIN FRICTION PILE)

การออกแบบเสาเข็มโดยให้เสาเข็มนั้นเป็นเสาเข็มแรงฝืด (SKIN FRICTION PILE) หากว่าเราใช้ข้อบัญญัติข้อนี้ก็จะกลายเป็นว่าความยาวของเสาเข็มที่เราใช้นั้นเริ่มที่จะไม่ค่อยสอดคล้องกันกับข้อเท็จจริงๆ ที่เป็นแล้ว เพราะ หากว่าเราใช้ความยาวเสาเข็มที่มีความยาวมากๆ ปลายของเสาเข็มของเรานั้นจะมีโอกาสที่จะหยั่งอยู่บนชั้นดินที่มีความแข็งแรงจนสามารถที่จะเรียกได้ว่าเป็นเสาเข็มรับแรงแบกทาน (END BEARING PILE) ได้นะครับ สรุปง่ายๆ คือ ต่อให้เราใช้เสาเข็มที่มีความยาวมากขนาดไหน ค่ากำลังการรับ นน ของเสาเข็มนั้นจะสามารถคำนวณได้ก็จะมีโอกาสที่จะออกมาต่ำกว่าความเป็นจริงค่อนข้างสูงนั่นเองนะครับ เรามาดู … Read More

เหตุใดจึงเลือกใช้ “หิน” เป็นวัสดุที่โรยเอาไว้เพื่อรองใต้ทางรถไฟกัน เราจะใช้วัสดุอื่นๆ ทดแทน ได้ หรือ ไม่ อย่างไร ?

เหตุใดจึงเลือกใช้ “หิน” เป็นวัสดุที่โรยเอาไว้เพื่อรองใต้ทางรถไฟกัน เราจะใช้วัสดุอื่นๆ ทดแทน ได้ หรือ ไม่ อย่างไร ? หินชนิดนี้มีชื่อว่า “หินโรยทาง” หรือ ที่ในภาษาอังกฤษเราจะมีชื่อเรียกว่า BALLAST STONE นั่นเองนะครับ หินชนิดนี้จะทำหน้าที่ยึดไม้หมอนที่คอยรองรับรางรถไฟซึ่งจะทำจากวัสดุที่เป็นเหล็กให้อยู่ในสภาพคงที่โดยให้เกิดการเปลี่ยนตำแหน่ง (DISPLACEMENT) ที่น้อยที่สุด … Read More

การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE)

การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่าเวลาที่ผมมักจะพูดถึง การออกแบบฐานรากรองรับเครื่องจักรขนาดใหญ่ (LARGE MACHINE FOUNDATION) ที่มีการสั่นตัวมาก (LARGE VIBRATION AMPLITUDE) ทางผู้ออกแบบเค้ามีวิธีการดูอย่างไรว่าโครงสร้างที่รองรับเครื่องจักรเหล่านี้มีความใช้ได้แล้ว ? สามารถที่จะทำการก่อสร้างเพื่อที่จะใช้เป็นฐานรากเพื่อรองรับเครื่องจักรนั้นๆ ได้แล้ว … Read More

เข็ม SQUARE PILE ขนาด 260 MM ยาวท่อนละ 12.5 เมตร เชื่อมต่อกัน 2 ท่อน ควรที่จะใช้วิธีการใดในทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็ม

เข็ม SQUARE PILE ขนาด 260 MM ยาวท่อนละ 12.5 เมตร เชื่อมต่อกัน 2 ท่อน ควรที่จะใช้วิธีการใดในทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็ม เราไม่สามารถที่จะใช้วิธีการทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็มด้วยวิธี SEISMIC TEST ได้เพราะว่า ในขั้นตอนของการทดสอบโดยวิธีการนี้จะอาศัยการสะท้อนของคลื่นที่ถูกส่งผ่านลงไป และ ให้คลื่นนั้นสะท้อนกลับมาและทำการอ่านค่า … Read More

เหตุใดจึงเลือกใช้ “หิน” เป็นวัสดุที่โรยเอาไว้เพื่อรองใต้ทางรถไฟกัน เราจะใช้วัสดุอื่นๆ ทดแทน ได้ หรือ ไม่ อย่างไร ?

เหตุใดจึงเลือกใช้ “หิน” เป็นวัสดุที่โรยเอาไว้เพื่อรองใต้ทางรถไฟกัน เราจะใช้วัสดุอื่นๆ ทดแทน ได้ หรือ ไม่ อย่างไร ? หินชนิดนี้มีชื่อว่า “หินโรยทาง” หรือ ที่ในภาษาอังกฤษเราจะมีชื่อเรียกว่า BALLAST STONE นั่นเองนะครับ หินชนิดนี้จะทำหน้าที่ยึดไม้หมอนที่คอยรองรับรางรถไฟซึ่งจะทำจากวัสดุที่เป็นเหล็กให้อยู่ในสภาพคงที่โดยให้เกิดการเปลี่ยนตำแหน่ง (DISPLACEMENT) ที่น้อยที่สุด … Read More

1 26 27 28 29 30 31 32