การคำนวณหาค่าการเสียรูปในโครงสร้างที่มีหน้าตัดเป็นแบบ CRACKED SECTION

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน แอดมินต้องขอโทษเพื่อนๆ ด้วยนะครับ วันนี้เพิ่งเลิกเรียนในวิชา ENERGY METHODS IN APPLIED MECHANICS เลยมาพบกันช้าไปสักหน่อย วันนี้ผมจะมาแสดงขั้นตอนในการคำนวณหาค่าการเสียรูปในโครงสร้างที่มีหน้าตัดเป็นแบบ CRACKED SECTION ตามที่ผมได้รับปากเพื่อนๆ เอาไว้นะครับ โดยผมคิดว่าวิธีการที่ดีที่สุดก็คือสมมติปัญหาขึ้นมาและทำให้เพื่อนๆ ได้ดูจะเป็นการดีที่สุดครับ ปัญหามีอยู่ว่า เราต้องทำการออกแบบหน้าตัดคาน … Read More

การแปลงค่า Ksoil ให้เป็นค่า Kstructure ในโปรแกรม STAAD.PRO

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากโพสต์ของผมเมื่อวานที่ผมได้ทำการอธิบายเกี่ยวกับการแปลงค่า Ksoil ให้เป็นค่า Kstructure แก่เพื่อนๆ ไป บังเอิญว่ามีเพื่อนผมท่านหนึ่งได้มาคอมเม้นต์ว่าให้ลองทำการ APPLY ปัญหาข้อนี้ในโปรแกรม MICROFEAP รุ่น P1 ดู ผมต้องเรียนขออภัยเพื่อนท่านนี้มา ณ โอกาสนี้ด้วยนะครับ เพราะตัวผมนั้นไม่ได้ใช้โปรแกรมนี้ ผมเป็นเพียงผู้ติดตามผลงานและชื่นชอบในตัวท่าน … Read More

ทิศทางในการวางตำแหน่งเสาเข็มของฐานรากที่ใช้เสาเข็มจำนวน 3 ต้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เมื่อวานนี้ผมมีโอกาสได้พูดคุยกับน้องวิศวกรท่านหนึ่งเรื่องทิศทางในการวางตำแหน่งเสาเข็มของฐานรากที่ใช้เสาเข็มจำนวน 3 ต้น และผมเห็นว่าน่าจะมีประโยชน์ จึงนำมาแชร์แก่เพื่อนๆ ด้วยนะครับ ก่อนอื่นพิจารณาดูรูปที่ 1 ก่อนนะครับ ในรูป A จะแสดงให้เห็นว่า ณ ที่ตำแหน่งขอบด้านนอกสุดของอาคาร เราทำการวางให้ฐานรากที่มีเสาเข็ม 3 ต้น โดยให้เสาเข็ม … Read More

ความแข็งเกร็ง หรือ STIFFNESS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมนำความรู้เกี่ยวกับคำว่า ความแข็งเกร็ง หรือ STIFFNESS มาฝากเพื่อนๆ สักเล็กน้อยนะครับ เพื่อนๆ อาจเคยสงสัยใช่มั้ยครับ ทุกๆ ครั้งที่ได้ยินคำว่า ความแข็งเกร็ง หรือ STIFFNESS เวลาที่ต้องเกี่ยวข้องกับงานทางด้านกลศาสตร์ของวัสดุ หรือ การวิเคราะห์โครงสร้าง จริงๆ แล้วทำไมวิศวกร … Read More

การคำนวณค่าแรงแบกทาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่านครับ สืบเนื่องจากเมื่อวันก่อนผมได้โพสต์เกี่ยวกับเรื่องค่าแรงแบกทานที่ยอมให้ของดินซึ่งจะมีประโยชน์ก็ต่อเมื่อเรานำค่าๆ นี้ไปออกแบบระบบฐานรากวางบนดิน ก้ได้รับข้อความหลังไมค์มาสอบถามเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้พอสมควรนะครับ ผมจึงคิดว่าวันนี้จะมายก ตย ถึงการคำนวณในเรื่องนี้ให้แก่เพื่อนๆ นะครับ มาเริ่มต้นดูรูปที่ 1 ก่อนนะครับ ฐานรากวางบนดินที่เราจะทำการออกแบบนี้มีขนาดความกว้าง 4 m ความยาว 6 m รับ นน … Read More

การประมาณการหาค่าปริมาณพื้นที่หน้าตัดของเหล็กเสริมในหน้าตัดคาน คสล โดยวิธีกำลัง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ วันนี้ผมจะมาแนะนำวิธีและเคล็ดลับในการคำนวณง่ายๆ ให้แก่เพื่อนๆ นะครับ เผื่อจะมีประโยชน์ต่อการทำงานออกแบบของเพื่อนๆ นะครับ วันนี้หัวข้อที่ผมจะมาแนะนำก็คือ การประมาณการหาค่าปริมาณ พท หน้าตัดของเหล็กเสริมในหน้าตัดคาน คสล โดยวิธีกำลังนั่นเองครับ วิธีนี้จะง่ายมากๆ ครับ เหมาะกับเมื่อเราต้องการที่จะหา หรือ ตรวจสอบปริมาณเหล็กเสริมในหน้าตัดคาน คสล แบบเร็วๆ … Read More

คำนิยามความสมดุล และ สถานะของสมดุล (EQUILIBRIUM AND STAGE OF EQUILIBRIUM)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้แอดมินมีนิยามที่น่าสนใจจะมาเล่าให้เพื่อนๆ ได้รับทราบกันนะครับ เรื่องๆ นี้ก็คือ เรื่อง คำนิยามของคำ 2 คำ ก็คือ ความสมดุล และ สถานะของสมดุล (EQUILIBRIUM AND STAGE OF EQUILIBRIUM) นั่นเองครับ … Read More

การคำนวณหาว่าหน้าตัดของผนังรับแรงเฉือน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เมื่อวานนี้ผมได้อธิบายให้เพื่อนๆ ได้รู้จักกับชิ้นส่วนสำคัญในผนังรับแรงเฉือน ซึ่งก็คือ BOUNDARY ELEMENT ไปแล้วนะครับ ก็คาดหมายว่าเพื่อนๆ จะรู้จักกับชิ้นส่วนๆ นี้เมื่อต้องดูแบบวิศวกรรมโครงสร้างนะครับ ในวันนี้ผมจะมาเล่าให้ฟังถึงวิธีการอีกวิธีการหนึ่งในการคำนวณหาว่าหน้าตัดของผนังรับแรงเฉือนที่เราทำการออกแบบนั้นจะต้องการชิ้นส่วนที่เรียกว่า BOUNDARY ELEMENT หรือไม่กันอีกวิธีการหนึ่ง พร้อมกันนี้ผมยังได้อธิบายถึงวิธีในการคำนวณหาขนาดของหน้าตัดของทั้ง 2 วิธีการนี้ด้วยวิธีการพอสังเขปแก่เพื่อนๆ ด้วยนะครับ โพสต์นี้ออกจะยาวสักหน่อยแต่ผมเชื่อว่าน่าจะเป็นประโยชนืต่อเพื่อนๆ … Read More

การ DERIVE ที่มาของค่า Pb

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เมื่อวานนี้ผมได้ทำการ DERIVE ที่มาของค่า Pb ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกัน เพื่อนๆ อาจจะเห็นว่ามีค่า สปส ค่าๆ หนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณ ค่าๆ นั้นก็คือ ค่า β1 นั่นเองครับ ค่า β1 … Read More

เหตุใดทฤษฎีพื้นฐานของการออกแบบหน้าตัดคาน คสล ด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งานจึงมีความสำคัญ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ คน วันนี้ผมจะมาต่อถึงเนื้อหาที่ยังค้างทุกๆ คนนะครับ นั่นก็คือ เหตุใดทฤษฎีพื้นฐานของการออกแบบหน้าตัดคาน คสล ด้วยวิธีหน่วยแรงใช้งานจึงมีความสำคัญนะครับ ก่อนอื่นผมจะขอกล่าวถึงทฤษฎีกับอีก 1 สมการที่มีความสำคัญสมการหนึ่งก่อนครับ ขอให้ดูรูปที่ 1 ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงสภาวะความเค้นเมื่อเราทำการวิเคราะห์หน้าตัดคาน คสล ประกอบนะครับ เรื่องนั้นก็คือ เรื่องการกำหนดสภาวะการวิบัติของหน้าตัดคาน คือ หากเราเสริมเหล็กให้มีปริมาณน้อยกว่าค่าที่คำนวณได้จากใน … Read More

1 21 22 23 24 25 26 27 32