การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากเมื่อหลายวันก่อนที่ผ่านมานั้นผมได้โพสต์อธิบายเพื่อนๆ ให้เข้าใจถึงเหตุผลว่า เพราะ เหตุใดหน้าตัดของโครงสร้าง คอร นั้นจึงมีความแข็งแรง สามารถที่จะ รับ นน … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ สืบเนื่องจากในหลายๆ โพสต์ก่อนหน้านี้ผมเคยทำการอธิบายไปในหลายๆ โอกาสมากๆ ถึงวิธีการแก้ปัญหาโดยการทำ TIED BEAM เมื่อเพื่อนๆ ต้องประสบพบเจอกับเหตุการณ์การตอกเสาเข็มแล้วเกิดเยื้องศูนย์ออกไปจากค่ามาตรฐานที่ยอมรับได้ แต่ ผมพบว่ายังมีเพื่อนๆ … Read More

เทคนิคในการเพิ่มอายุการใช้งาน (DURABILITY) ของโครงสร้างคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะมาแนะนำเทคนิคในการเพิ่มอายุการใช้งาน (DURABILITY) ของโครงสร้างคอนกรีตที่มีความง่ายดายและตรงไปตรงมาที่สุด นั่นก็คือการเลือกใช้ ค่าแรงเค้นอัดประลัย (ULTIMATE COMPRESSIVE STRESS) ของคอนกรีต … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสะพาน (STRUCTURAL BRIDGE ENGINEERING DESIGN หรือ SBE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างสะพาน (STRUCTURAL BRIDGE ENGINEERING DESIGN หรือ SBE) นะครับ หลังจากที่เมื่อวันก่อนผมได้มานำเสนอบทความให้เพื่อนๆ ได้รู้จักกันถึง MOVING LOAD ในวันนี้ผมจึงอยากจะขออนุญาตมาทำการยก ตย ในการคำนวณหาค่าต่างๆ เพื่อนำไปคำนวณเพื่อนำค่า MOVING LOAD … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ ในวันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้ถึงหลักการในการออกแบบโครงสร้างให้มีความแข็งแรงด้วยวิธีการง่ายๆ แต่ มักจะถูกละเลย หรือ อาจถูกหลงลืมไปจากผู้ออกแบบอยู่บ่อยครั้ง นั่นก็คือ เทคนิคและวิธีในการเชื่อมต่อ สปริงแบบเชิงเส้น (LINEAR SPRING) เข้ากับตัวโครงสร้างนั่นเองนะครับ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) นะครับ เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่าเวลาที่ผมมักจะพูดถึง การออกแบบฐานรากรองรับเครื่องจักรขนาดใหญ่ (LARGE MACHINE FOUNDATION) ที่มีการสั่นตัวมาก (LARGE VIBRATION AMPLITUDE) ทางผู้ออกแบบเค้ามีวิธีการดูอย่างไรว่าโครงสร้างที่รองรับเครื่องจักรเหล่านี้มีความใช้ได้แล้ว … Read More

การคำนวณเพื่อการตรวจสอบค่าแรงเฉือนทะลุ (PUNCHING SHEAR)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาตอบคำถามของเพื่อนวิศวกรที่เคยสอบถามผมมาหลังไมค์ก่อนหน้านี้ว่า “เหตุใดก่อนหน้านี้ตอนที่ผมทำการอธิบายว่าในตรวจสอบค่าแรงเฉือนทะลุ (PUNCHING SHEAR) ผมจึงได้ทำการระบุว่าให้ใช้สมการในการคำนวณหาค่าความสามารถในการรับกำลังแรงเฉือนทะลุโดยคอนกรีตเท่ากับ 1.06 ϕ √fc’ bo d เพียงสมการเดียว เพราะ เหมือนตอนที่เพื่อนท่านนี้เรียนมาจะจำได้ว่า มีหลายสมการในการตรวจสอบมากๆ รบกวนผมช่วยอธิบายประเด็นนี้หน่อยได้หรือไม่ครับ ?” ขอปรบมือรัวๆ ให้กับคำถามข้อนี้เลยนะครับ เป็นคำถามที่ดีมากๆ … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างโดยอาศัยค่าสัมประสิทธิ์แรงดัดตามวิธีการของ ACI

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ที่เป็นวิศวกรที่มีความต้องการที่จะทำการวิเคราะห์โครงสร้างคานรับแรงดัดในทิศทางเดียว (ONE WAY FLEXURAL ANALYSIS) แบบประมาณการ หรือ ด้วยวิธีการอย่างง่าย นั่นก็คือ การวิเคราะห์โครงสร้างโดยอาศัยค่าสัมประสิทธิ์แรงดัดตามวิธีการของ ACI นั่นเองนะครับ ขั้นตอนในการวิเคราะห์โครงสร้างโดยอาศัยค่าสัมประสิทธิ์แรงดัดตามวิธีการของ ACI นั้นสามารถทำได้ง่ายๆ นะครับ แต่ … Read More

ระยะการยุบตัว หรือ ที่เราเรียกกันในภาษาช่างว่า SLUMP

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงประเด็นที่ต้องถือว่ามีความสำคัญมากอย่างหนึ่งในการทำงานก่อสร้างโครงสร้าง คสล แต่ ก็มักที่จะถูกมองข้ามไปอยู่เสมอๆ เลยนะครับ นั่นก็คือประเด็นในเรื่องของ ระยะการยุบตัว หรือ ที่เราเรียกกันในภาษาช่างว่า SLUMP นะครับ เพื่อนๆ ทราบกันหรือไม่ครับว่าเพราะเหตุใดค่าการยุบตัว หรือ SLUMP นี้จึงมีความสำคัญมากในการทำงานก่อสร้างโครงสร้าง คสล … Read More

ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หลังจากที่ในการโพสต์ครั้งก่อนนี้ผมได้ให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ทุกคนรวมไปถึงเพื่อนที่เป็นสถาปนิกถึงเรื่อง ขนาดที่เหมาะสมของเสา ไปแล้วนะครับ ผมได้รับคำถามเพิ่มเติมมาอีกว่าอยากให้ผมนั้นให้คำแนะนำเกี่ยวกับเรื่อง ขนาดความลึกที่เหมาะสมของโครงถักเหล็ก หรือ STEEL TRUSS ด้วยนะครับ หากเป็นเช่นนั้นผมก็ขอจัดให้ตามคำร้องขอเลยก็แล้วกันนะครับ เพื่อนๆ ดูรูปประกอบด้วยนะครับ โดยผมขอแบ่งประเภทของโครงถักออกเป็น 2 รูปแบบหลักๆ คือ (1) … Read More

1 17 18 19 20 21 22 23 32