จริงหรือไม่? เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile ตอกเสร็จไม่ต้องรอ ก่อสร้างต่อได้เลย

จริงหรือไม่? เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile ตอกเสร็จไม่ต้องรอ ก่อสร้างต่อได้เลย อุตสาหกรรมก่อสร้างจัดเป็นอุตสาหกรรมที่สำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในประเทศ โดยเกี่ยวกับข้องกับผู้ประกอบการที่ต้องการสร้างโรงงานใหม่ และการจ้างงานจำนวนมากในแต่ละ ซึ่งผลผลิตที่ได้ประกอบด้วยสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ ที่เอื้อต่อการดำรงชีวิต เช่น ที่อยู่อาศัย โรงงาน โรงเรียน สถานที่สาธารณะ เป็นต้น จะเห็นได้ว่าอุตสาหกรรมก่อสร้างถึงมีความสำญมาก ทั้งนี้ในการก่อสร้างพื้นที่ต่าง … Read More

การรับแรงดึงของเสาเข็ม เมื่อเสาเข็มวางอยู่ในดิน

การรับแรงดึงของเสาเข็ม เมื่อเสาเข็มวางอยู่ในดิน เสาเข็มถือเป็นวัสดุที่ใช้กันแพร่หลายมากในนการรับน้ำหนักของโครงสร้าง โดยเสาเข็มจะรับน้ำหนักของฐานรากก่อน แล้วจึงค่อยถ่ายน้ำหนักให้ดิน ซึ่งต่างจากฐานรากแบบแผ่ที่ดินจะรับน้ำหนักจากฐานนรากโดยตรง การออกแบบโครงสร้างมาให้มีการตอกเสาเข็ม เนื่องจากดินที่อยู่ตื้นรับน้ำหนักได้น้อย ทำให้ต้องใช้เสาเข็มเพื่อรองรับน้ำหนักของโครงสร้าง ทั้้งนี้การรับแรงดึงของเสาเข็ม เมื่อเสาเข็มวางอยู่ในดินเราถึงต้องทำการออกแบบให้มีเหล็กเดือย หรือ DOWEL BAR ให้อยู่ในบริเวณรอยต่อระหว่างโครงสร้างเสาเข็มและฐานราก หากไม่มีการใส่เหล็กเดือยหรือ DOWEL BAR อยู่ในบริเวณรอยต่อของโครงสร้างเสาเข็มและฐานรากก็จะทำให้ตัวโครงสร้างเกิดการทรุดตัวได้ถ้าเกิดภัยภิบัติทางธรรมชาติ หรือ … Read More

เลือกเสาเข็มต่อเติมอาคาร ไม่ให้กระทบโครงสร้างเดิม

เลือกเสาเข็มต่อเติมอาคาร ไม่ให้กระทบโครงสร้างเดิม การก่อสร้างเพื่อต่อเติมอาคารอย่าลืมว่าต้องคำนึงถึงผลกระทบของส่วนโครงสร้างเดิม เพราะถ้าวางแผนอย่างไม่ถูกต้องแทนที่่จะได้ต่อเติมกลับต้องมานั่งซ่อมแซมโครงสร้างเดิม เสียทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย ดังนั้นเพื่อไม่ให้การต่อเติมอาคารมีผลกระทบต่อการใช้งานในระยะยาว ควรจะให้ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรเป็นผู้ออกแบบวางแผนการต่อเติม เพื่อป้องกันการทรุดตัวของโครงสร้างในอนาคต ทั้งนี้เสาเข็มที่เลือกใช้ควรมีเครื่องหมายมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 เพื่อให้แน่ใจว่าสามารถรับน้ำหนักของโครงสร้างทั้งหมดได้เป็นอย่างดี ภูมิสยามขอแนะนำ “เสาเข็มสปันไมโครไพล์” เสาเข็มมีลักษณะเป็นรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการระบายดิน และมีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคนกรีตโดยรอบ เพื่อให้เสาเข็มมีความหนาแน่นและแข็งแรง นอกจากนี้ยังประหยัดเวลาในการติดตั้ง และสามารถรับน้ำหนักได้ทันที … Read More

สำรวจลักษณะของพื้นดินก่อนก่อสร้าง เพื่อป้องกันการทรุดตัวแก่โครงสร้าง

สำรวจลักษณะของพื้นดินก่อนก่อสร้าง เพื่อป้องกันการทรุดตัวแก่โครงสร้าง ฐานรากถือเป็นส่วนสำคัญที่สุดของโครงสร้างง และต้องให้ความสำคัญและใส่ใจเป็นพิเศษ หากไม่สามารถรับน้ำหนักของโคงสร้างได้จะเกิดความเสียหายเป็นอย่ามากกับการก่อสร้าง จึงต้องออกแบบฐานรากให้แข็งแรง ให้มีความเพียงพอที่จะรับน้ำหนักทั้งหมดของโครงสร้างได้ ทั้งนี้การจะก่อสร้างได้นั้น เพื่อให้ได้ฐานรากที่แข็งแรง ควรเจาะสำสภาพของดินดูว่าสามารถรองรับการสร้างอาคารได้หรือไม่ เพราะสภาพของชั้นดิน ณ บริเวณที่ตั้งของอาคารที่เราต้องการทำการออกแบบนั้นจะมีส่วนในการเปลี่ยนแปลงระดับค่าความรุนแรงของการสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวได้ เช่น ชั้นดินอ่อนในเขต กทม จะมีคุณสมบัติที่จะขยาย (AMPLIFY) ขนาดของคลื่นแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวที่จะเดินทางมาจากแหล่งต้นกำเนิดแผ่นดินไหว หรือ … Read More

“ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” รูปแบบการวิบัติของโครงสร้างแป้นหูช้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณช่วงประมาณต้นเดือนที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการอธิบายและหยิบยกนำเอาตัวอย่างของการคำนวณออกแบบเกี่ยวกับเรื่องโครงสร้างแป้นหูช้าง คสล หรือ RC CORBEL ให้กับเพื่อนๆ ได้รับชมกันไปแล้วในการโพสต์ครั้งนั้น ซึ่งก็มีข้อความเข้ามาในอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมในทำนองว่า เท่าที่อ่านจากคำอธิบายของผมและได้ศึกษาจากรายละเอียดของการเสริมเหล็กแล้วแสดงว่า รูปแบบของการวิบัติของโครงสร้างแป้นหูช้าง คสล นั้นจะไม่ได้เกิดเนื่องจากแรงเฉือนธรรมดาทั่วๆ … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” การทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้ในสัปดาห์ที่แล้วว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาขยายความและทำการพูดถึงข้อดีและข้อด้อยของการเลือกทำการทดสอบโครงสร้างเสาเข็มด้วยวิธีการใส่แรงกระแทกเข้าไปที่ส่วนบนของโครงสร้างเสาเข็ม ซึ่งโพสต์ๆ นี้ก็จะมีความต่อเนื่องมาจากโพสต์ของผมเมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้นะครับ สำหรับข้อดีหลักๆ ก็อย่างเช่น เนื่องจากเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบโครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นมีขนาดค่อนข้างที่จะเล็กมากๆ ดังนั้นจึงทำให้บุคคลเพียงเดียวก็สามารถที่จะทำการทดสอบโครงสร้างเสาเข็มได้มากถึง 100 ต้นต่อวันเลยและสืบเนื่องจากเหตุผลข้อนี้เองจึงทำให้การทดสอบโครงสร้างเสาเข็มนั้นจะไม่เป็นการทำให้เกิดการกีดขวางการทำงานอื่นๆ … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” การทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้ในสัปดาห์ที่แล้วว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาขยายความเกี่ยวกับเรื่องของการทดสอบความสมบูรณ์ของโครงสร้างเสาเข็มกันต่อ ซึ่งเพื่อนๆ ต้องทำความเข้าใจก่อนว่า วิธีในการทดสอบดังกล่าวนี้ถือได้ว่าเป็น วิธีการทดสอบแบบไม่ทำลาย หรือ NON-DESTRUCTIVE TEST METHOD … Read More

“ถาม-ตอบชวนสนุก” การจำแนกโครงสร้างเสาสั้นหรือเสายาว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้ ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ผมขอสมมติว่ามีโครงสร้างเสาไม้อยู่หนึ่งต้นซึ่งมีขนาดของความกว้างเท่ากับ 150 MM และมีขนาดของความลึกเท่ากับ 200 MM ทั้งนี้จุดรอบรับในทุกๆ แกนและทั้ง … Read More

“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” การจำแนกประเภทว่าโครงสร้างเสานั้นเป็นโครงสร้างเสาสั้นหรือโครงสร้างเสายาว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ เนื่องจากโพสต์ของผมเมื่อประมาณช่วงต้นเดือนก่อนหน้านี้ซึ่งเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง สมการค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ หรือ EAULER’S CRITICAL LOAD ซึ่งพวกเรานิยมเขียนแทนสั้นๆ ด้วยตัวอักษรย่อว่า Pcr ได้มีเพื่อนผมบนเฟซบุ้คท่านหนึ่งและเค้าก็บังเอิญว่าเป็นแฟนเพจของเพจเราด้วยได้ฝากคำถามเข้ามาว่า … Read More

“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” แรงเฉือนโดยตรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ อย่างที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ ไว้เมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้แล้วว่าวันนี้ผมจะมาทำการอธิบายถึงเรื่องวิธีในการคำนวณออกแบบเหล็กเสริมเพื่อใช้ในการต้านทานแรงเฉือนเสียดทานตามที่มาตรฐานการออกแบบได้ทำการระบุเอาไว้ ซึ่งผมก็จะขออ้างอิงไปที่มาตรฐานการออกแบบ EIT-10104-58 และ ACI318 เป็นหลักนะครับ ก่อนอื่นเรามาดูหน้าตาของสมการที่ใช้ในการคำนวณหาพื้นที่หน้าตัดของเหล็กเสริมที่ใช้ในการต้านทานแรงเฉือนเสียดทานที่มาตรฐานการออกแบบได้กำหนดให้ใช้กันก่อน ซึ่งก็จะได้จากการย้ายข้างเพื่อเป็นการแก้สมการEQ.(7) ในการโพสต์ครั้งที่แล้วและก็ทำการเปลี่ยนตัวแปรจากค่า … Read More

1 2 3 4 5 32