ข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกเช่นเคยในวันบ่ายจันทร์แบบนี้โดยที่หัวข้อในวันนี้ผมจะมาเฉลยคำตอบในการสอบใบประกอบวิชาชีพในระดับภาคีวิศวกรที่ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิศวกรนะครับ ในวันนี้จะเป็นข้อสอบในวิชา THEORY OF STRUCTURES นะครับ โดยที่ข้อสอบข้อนี้มีรายละเอียดของถามว่า ข้อที่ 94 โครงสร้างดังรูป แรงปฏิกิริยาที่จุด B มีค่าเท่าใด ? เฉลย สิ่งที่เราควรทำเมื่อเจอปัญหาแบบนี้ คือ เราควรที่จะต้องมองให้ออกเสียก่อนว่าโครงสร้างนั้นๆ จะสามารถที่จะทำการวิเคราะห์โครงสร้างได้โดยวิธี อย่างง่าย … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ วันนี้ผมจะมาทำการ DISCUSS และแลกเปลี่ยนกันกับเพื่อนๆ ถึงประเด็นคำถามที่ผมได้ฝากเอาไว้แก่เพื่อนๆ ทุกคนเมื่อวาน แต่ ก่อนอื่นเรามาทวนคำถามกันสักเล็กน้อยก่อนนะครับ จากรูปจะเห็นได้ว่ามีโครงหลังคาเหล็กอยู่โครงหนึ่งที่ในแกน X นั้นจะมีระยะห่างของช่วงว่าง … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีและซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ (STRUCTURAL ANALYSIS BY FINITE ELEMENTS ANALYSIS METHOD & SOFTWARE หรือ FEM)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีและซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ (STRUCTURAL ANALYSIS BY FINITE ELEMENTS ANALYSIS METHOD & SOFTWARE หรือ FEM) นะครับ เนื่องจากมีรุ่นพี่วิศวกรที่ผมรักและเคารพของผมท่านหนึ่งได้ทำการสอบถามผมเข้ามาที่หลังไมค์เกี่ยวกับซอฟต์แวร์ทางไฟไนต์อีลีเมนต์ว่า “ที่ตำแหน่งของ จุดต่อ แบบยึดหมุนที่สามารถเคลื่อนทีได้ในแนวดิ่ง (VERTICAL … Read More

เฉลยข้อสอบ กพ ที่เป็นในส่วนการสอบในภาค ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์วิศวกรรม (ENGINEERING MECHANICS COMPUTATION หรือ EMC) นะครับ วันนี้ผมจะมาเฉลยข้อสอบ กพ ที่เป็นในส่วนการสอบในภาค ก ที่เป็นประเด็นพูดถึงกันมากอยู่ในเฟซบุ้คในขณะนี้นะครับ จริงๆ แล้วปัญหาข้อนี้ไมได้มีความสลับซับซ้อนอะไรมากนักนะครับ ไม่ต้องท่องจำ สูตร หรือ สมการ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันเสาร์แบบนี้นะครับ และ เหมือนเช่นเคยนะครับ วันนี้ผมจะมีคำถามที่อยากจะขอเชิญชวนให้เพื่อนๆ นั้นได้มาร่วมสนุกตอบคำถามด้วยกันนะครับ จากรูปจะเห็นได้ว่า ผมต้องการที่จะทำการฝังถังบำบัดที่ทำจากวัสดุโพลีเอทธีลีนไว้ในบริเวณสวนด้านหลังบ้านที่มีขนาดความจุเท่ากับ 1800 ลิตร … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากที่ผ่านมาหลายๆ ครั้งนั้นผมเคยทำการคำนวณออกแบบโครงสร้างคาน คสล รับแรง (FLEXURAL RC BEAM) ดัดโดยวิธีกำลัง (STRENGTH … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ เป็นยังไงกันบ้างครับเพื่อนๆ หวังว่าปัญหาที่ผมได้ให้ไว้นั้นคงไม่ได้ยากจนเกินไปนักนะครับ เอาละ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยปัญหาข้อนี้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนก็แล้วกัน แต่ ก่อนอื่นมาเรามาทวนปัญหาข้อนี้กันก่อนสักเล็กน้อย จากรูปจะเห็นได้ว่าโครงสร้างดังกล่าวนั้นเป็น โครงสร้างเส้นลวด (CABLE STRUCTURE) … Read More

การโก่งเดาะเฉพาะแห่ง (LOCAL BUCKLING)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็กรูปพรรณ (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SSE) นะครับ ผมเชื่อเหลือเกินว่าหากเพื่อนๆ เป็นผู้ออกแบบท่านหนึ่งที่เคยทำการออกแบบโครงสร้างเหล็ก โดยเฉพาะโครงสร้างรับแรงตามแนวแกนแบบอัด (AXIAL COMPRESSION MEMBERS) เพื่อนๆ ย่อมที่จะต้องมีความคุ้นเคยกับการตรวจสอบว่า สถานะของชิ้นส่วนโครงสร้างเหล็กของเรานั้นมี … Read More

ตัวอย่าง วิธีในการวางแนวลวดอัดแรง (TENDON PROFILE) ในหน้าตัดโครงสร้าง คอร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) โดยที่ในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับงาน การออกแบบคอนกรีตอัดแรง (PRESTRESSED CONCRETE DESIGN) นั่นเองนะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณปลายเดือนเมษายนที่ผ่านมามีน้องวิศวกรท่านหนึ่งถามผมมาเกี่ยวกับ วิธีในการวางแนวลวดอัดแรง (TENDON PROFILE) … Read More

กลไกที่ทำให้การปรับเปลี่ยนมุมของอาคาร ช่วยลดความรุนแรงของแรงลมได้

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาอธิบายต่อถึงเหตุผลว่าด้วยกลไกที่ทำให้การปรับเปลี่ยนมุมของอาคารนั้นช่วยลดความรุนแรงของแรงลมได้กันต่ออีกสักโพสต์ก็แล้วกันนะครับ หากจะอธิบายถึงสาเหตุที่ทำให้การปรับเปลี่ยนมุมของอาคารนั้นช่วยลดความรุนแรงของแรงลมได้เราต้องย้อนกลับไปที่เรื่องกลศาสตร์ของไหล (MECHANICS OF FLUID) นะครับซึ่งจะมีความละเอียดและซับซ้อนพอสมควรนะครับ ผมจึงจะขออนุญาตทำการอธิบายแต่เพียงสังเขปก็แล้วกันนะครับ สาเหตุหลักๆ … Read More

1 15 16 17 18 19 20 21 32