วิธีประยุกต์ใช้วิธีการ CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM สำหรับกรณีที่มีความต้องการ วิเคราะห์หาค่าการเสียรูป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายวิธีในการประยุกต์ใช้วิธีการ CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM สำหรับกรณีที่เรามีความต้องการที่จะทำการวิเคราะห์หาค่าการเสียรูป ซึ่งจะรวมไปถึงค่าระยะของการโก่งตัวและค่ามุมหมุนที่เกิดขึ้นภายในโครงสร้างโครงข้อแข็งแบบ 2 มิติ หรือว่า PLANE RIGID FRAME แก่เพื่อนๆ … Read More

ผลของการที่เราไม่นำผลของค่าการเสียรูปอันเนื่องมาจากแรงเฉือน หรือ SHEAR DEFORMATION มาใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ จริงๆ แล้วปัญหาที่ผมจะขอนำมาหยิบยกมาเพื่อใช้เป็นกรณีศึกษาในวันนี้ก็จะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องงานออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างซึ่งหัวข้อก็คือ ผลของการที่เราไม่นำผลของค่าการเสียรูปอันเนื่องมาจากแรงเฉือน หรือ SHEAR DEFORMATION มาใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างนั่นเองครับ   ผมเชื่อว่าเพื่อนๆ วิศวกรโครงสร้างหลายๆ คนคงจะกำลังเจออยู่หรืออย่างน้อยต้องเคยมีโอกาสได้ประสบพบเจอกับปัญหานี้กันมาบ้างไม่มากก็น้อย โดยที่ปัญหาๆ นี้จะเกิดขึ้นเกือบจะในทุกๆ ครั้งที่เราทำการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยกระบวนการทาง … Read More

ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่เมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้ทำการคั่นเนื้อหาเรื่องการทดสอบชั้นดินเพื่อที่จะพูดถึงประเด็นเรื่องราวอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันเพื่อเป็นวิทยาทานแก่เพื่อนๆ กันไปมากพอสมควรแล้ว ซึ่งวันนี้เรากำลังกลับมาพูดถึงเรื่องราวเกี่ยวกับเรื่องหลักของเรากันต่อแล้ว ซึ่งในครั้งที่แล้วผมได้พูดถึงเรื่อง ประเภทและลักษณะการทดสอบหาค่ากำลังของชั้นดิน กันต่อเนื่องจากในสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้อธิบายไปว่าประเภทและลักษณะการทดสอบหาค่ากำลังของชั้นดินนั้นสามารถที่จะทำการคัดแยกออกได้เป็น 2 ลักษณะใหญ่ๆ ด้วยกันนั่นก็คือ การทดสอบดินในสนาม … Read More

การประยุกต์ใช้สมการตั้งต้น เพื่อการหาค่าเสียรูปต่างๆ ของโครงสร้างหนึ่ง โดยจะใช้ CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ผมจะขออนุญาตเริ่มต้นโดยทำการอธิบายวิธีในการประยุกต์ใช้สมการตั้งต้นตามที่ผมได้อธิบายเพื่อนๆ ไปเมื่อสัปดาห์ก่อน ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นการหาค่าเสียรูปต่างๆ ของโครงสร้างหนึ่งๆ โดยการที่เราจะใช้ CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM โดยจะขอเริ่มต้นดูจากรูปตัวอย่างโครงสร้างคานรับแรงดัดที่มีช่วงพาดอย่างง่ายหรือ SIMPLE BEAM BENDING ที่ได้แสดงอยู่ในโพสต์ๆ … Read More

ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ     (รูปที่1) ผมจะขออนุญาตเริ่มต้นโดยทำการ DERIVE สมการตั้งต้นของ CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM ให้ทุกๆ ท่านได้ทราบกันก่อน เพื่อนๆ จะได้เข้าใจที่มาที่ไปของสมการตั้งต้นตัวนี้ เพื่อการประยุกต์ใช้งานที่ถูกต้องต่อไป … Read More

วิธีในการวิเคราะห์หาค่าการเสียรูปของโครงสร้าง หรือว่าวิธีการ CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตพาเพื่อนๆ ไปทำการทบทวนความรู้ในเรื่องวิธีในการวิเคราะห์หาค่าการเสียรูปของโครงสร้าง หรือว่าวิธีการ CASTIGLIANO’S 2ND THEOREM โดยที่วิธีการนี้เป็นวิธีการที่สุดแสนจะมีความคลาสสิคมากๆ วิธีการหนึ่ง นั่นเป็นเพราะต้องถือว่าวิธีการนี้เป็นหนึ่งใน วิธีการทางพลังงาน หรือ ENERGY METHODS … Read More

โครงสร้างฐานรากแบบยื่น หรือ CANTILEVER FOUNDATION

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ สืบเนื่องจากโพสต์ของเมื่อวานนี้ที่ผมได้นำความรู้เรื่อง โครงสร้างฐานรากแบบยื่น หรือ CANTILEVER FOUNDATION มาฝากเพื่อนๆ ไปแล้ว และ ตามที่ผมได้รับปากเพื่อนๆ เอาไว้ว่า ผมจะมาทำการอธิบายเพิ่มเติมให้ได้ทราบกันว่า … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน ด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากเมื่อไม่นานมานี้ผมทำการอัดคลิปวีดีโอแนะนำถึงเรื่องราวต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อเพื่อนๆ ในหลายๆ เรื่องหลายๆ วิชา ผลปรากฏว่าได้รับความสนใจดีเลยทีเดียว ผมเลยมีความคิดว่าหากผมจะทำคลิปเพื่อนำมาใช้ในหัวข้อวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์บ้างก็น่าจะเป็นการดีเหมือนกันนะครับ ประกอบกับการที่เมื่อสัปดาห์ที่แล้วผมได้เล่าให้ฟังไปแล้วว่าผมอยากที่จะนำเอาคำถามท้ายบทในหนังสือ TEXT BOOK ที่มีชื่อว่า DYNAMICS OF STRUCTURES … Read More

การที่ไม่เลือกใช้ระบบฐานรองรับโครงสร้างที่มีความเหมาะสม ทำให้พื้นบริเวณนั้นเกิดการทรุดตัวที่แตกต่างกันมากจนเกินไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาภาพปัญหาที่ไปพบเจอมาจริงๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับปัญหาโลกแตกในบ้านเราปัญหาหนึ่งนั่นก็คือ การที่เราไม่เลือกทำการใช้ระบบฐานรองรับโครงสร้างที่มีความเหมาะสมจนทำให้พื้นบริเวณนั้นเกิดการทรุดตัวที่แตกต่างกันมากจนเกินไป นั่นเองนะครับ   จริงๆ ผมเคยยก ตย กรณีแบบนี้ให้เพื่อนๆ ดูหลายครั้งแล้วนะครับ กรณีนี้ก็เช่นเดียวกันซึ่งจะเห็นได้จากรูปทั้ง 5 ว่าพื้นที่เกิดการทรุดตัวลงไปนั้นจะเป็น พื้นวางบนดิน … Read More

โครงสร้างพื้นที่วางอยู่บนดิน เกิดการทรุดตัว มากจนทำให้เกิดความลำบากในการใช้งาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตพาเพื่อนๆ ทุกคนไปเยี่ยมชมปัญหาที่เกิดขึ้นจริงกรณีหนึ่งที่ผมต้องไปทำการแก้ไขปัญหางานวิศวกรรมโครงสร้าง นั่นก็คือ โครงสร้างพื้นที่วางอยู่บนดินนั้นเกิดการทรุดตัวที่มากจนทำให้เกิดความลำบากมากๆ ในการใช้งานนั่นเองนะครับ   จากรูปเพื่อนๆ จะเห็นได้ว่าโครงสร้างของอาคารนั้นจะวางตัวอยู่ในระดับที่ปกตินั่นเป็นเพราะว่าโครงสร้างดังกล่าวนั้นวางตัวอยู่บนฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION) หรือ … Read More

1 10 11 12 13 14 15 16 32