หลักในการแก้ปัญหากรณีที่เราต้องทำการวิเคราะห์โครงสร้าง ที่มีลักษณะไม่สามารถทำการวิเคราะห์ด้วยวิธีอย่างง่าย

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ในขณะนี้ผมก็ได้พาเพื่อนๆ ทุกคนไปทำการทบทวนความรู้กันถึงเรื่องท้ายๆ ของการวิเคราะห์โครงสร้างกันแล้ว ไม่ทราบว่าที่ผ่านมาเป็นอย่างไรกันบ้างครับ น่าที่จะมีความเข้าใจกันมากขึ้นแล้วใช่หรือไม่ครับ ?   ก่อนหน้านี้ผมพาเพื่อนๆ เรียนรู้ถึงกระบวนการในการวิเคราะห์โครงสร้างเพื่อที่จะหาค่าการเสียรูปต่างๆ ภายในโครงสร้างประเภทต่างๆ ไปเป็นที่เรียบแล้วและไม่นานมานี้เองผมก็ได้พาเพื่อนๆ ไปทบทวนกันเกี่ยวกับเรื่องการวิเคราะห์โครงสร้างที่มีลักษณะไม่สามารถที่จะทำการวิเคราะห์ด้วยวิธีอย่างง่ายตามหลักการของสถิตศาสตร์ไปแล้วด้วย ดังนั้นเนื้อหาในวันนี้ก็อาจจะเป็นกรณีๆ … Read More

วิธีการทดสอบ การรับน้ำหนักบรรทุกของดินในสนาม โดยอาศัยแผ่นเหล็กในการทดสอบ หรือ ในภาษาอังกฤษจะใช้ชื่อในการทดสอบโดยวิธีการนี้ว่า PLATE BEARING TEST

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงวิธีในการทดสอบการรับน้ำหนักบรรทุกของดินในสนามโดยอาศัยแผ่นเหล็กในการทดสอบ หรือ ในภาษาอังกฤษจะใช้ชื่อในการทดสอบโดยวิธีการนี้ว่า PLATE BEARING TEST นั่นเองนะครับ   จริงๆ แล้วการที่เราทำการทดสอบตามวิธีการๆ นี้พูดง่ายๆ … Read More

ความสัมพันธ์ของมุมข้างในสี่เหลี่ยมและสามเหลี่ยม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตั้งคำถามประจำสัปดาห์เพื่อให้เพื่อนๆ ทุกคนได้ร่วมสนุกกัน โดยที่คำถามประจำสัปดาห์ในวันนี้นั้นค่อนข้างที่จะง่ายมากๆ เลย ทั้งนี้รายละเอียดของคำถามประจำสัปดาห์นี้มีดังต่อไปนี้ครับ จากรูปในโพสต์ๆ นี้เพื่อนๆ จะเห็นถึงความสัมพันธ์ของมุมข้างในสี่เหลี่ยมและสามเหลี่ยมหลายๆ มุมเลย ดังนั้นจากข้อมูลที่ได้ให้ไว้ในปัญหาข้อนี้จงทำการหาว่า ขนาดของมุม A นั้นจะมีค่าเท่ากับกี่องศา ? #โพสต์ของวันเสาร์ #การตั้งQUIZทางวิชาการประจำสัปดาห์ #คำถามประจำสัปดาห์เกี่ยวกับเรื่องความสัมพันธ์ของมุมในรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม   … Read More

คานรับแรงดัด “แบบปกติ” และคานรับแรงดัด “แบบลึก”

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เหมือนเช่นเคยในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตั้งคำถามประจำสัปดาห์ โดยที่คำถามประจำสัปดาห์ในวันนี้จะมีความเกี่ยวข้องกับหัวข้อในวันอังคารที่ผ่านมาซึ่งมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ โดยที่รายละเอียดของปัญหาที่ผมได้เลือกหยิบยกเอามาถามเพื่อนๆ ในวันนี้นั้นค่อนข้างที่จะมีความง่ายดายมากๆ เลย ซึ่งจะมีรายละเอียดของคำถามดังต่อไปนี้ครับ จะเห็นได้ว่าคานทั้ง 3 ในรูปๆ นี้จะมีขนาดของคานและเสาที่ทำหน้าที่รองรับคาน รวมไปถึงระยะความยาวช่วงระหว่างศูนย์กลางถึงศูนย์กลางของจุดรองรับที่เท่าๆ กัน โดยจะแตกต่างกันเฉพาะลักษณะของน้ำหนักบรรทุกที่กระทำอยู่บนคาน ดังนั้นผมอยากที่จะสอบถามเพื่อนๆ ว่า คานหมายเลขใดที่ถูกจัดว่ามีพฤติกรรมเป็นคานรับแรงดัด “แบบปกติ” … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างคานยื่นที่มีลักษณะความยาวช่วงที่ค่อนข้างจะสั้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หากเพื่อนๆ ยังจำกันได้เมื่อสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้ให้ความช่วยเหลือน้องนักศึกษาท่านหนึ่งที่ได้เข้ามาปรึกษาเรื่องการวิเคราะห์โครงสร้างคานยื่นที่มีลักษณะความยาวช่วงที่ค่อนข้างจะสั้น จากการพูดคุยกันผลปรากฏว่าน้องน่าที่จะมีความเข้าใจในประเด็นข้อสงสัยต่างๆ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ยังไงผมก็อวยพรให้น้องท่านนี้โชคดีก็แล้วกันเพราะต่อไปเมื่อเรียนจบน้องต้องออกไปทำงานน้องก็จะต้องเจอกับปัญหาที่มีความหนักหน่วงมากกว่านี้หลายเท่านัก เพื่อนๆ ละครับได้อ่านปัญหาของน้องท่านนี้แล้วมีใครบ้างหรือไม่ครับที่นำเอาไปคิดต่อกันบ้าง ?   ดังนั้นในวันนี้ผมจะมาทำการสรุปให้เพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบกันเป็นโพสต์สุดท้ายก็แล้วกัน หากจะว่าไปแล้วปัญหาของน้องนักศึกษาท่านนี้จะมีอยู่ด้วยกัน 2 ประการหลักๆ … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมต้องขออนุญาตโพสต์ให้เกิดความต่อเนื่องจากเมื่อวานกันอีกสักหนึ่งโพสต์นะครับ เพราะว่าประเด็นที่ผมได้นำมาหยิบยกเป็นกรณีศึกษาเมื่อวานนี้ค่อนข้างที่จะมีความเร่งด่วนสำหรับน้องที่ได้มาปรึกษาผมถึงประเด็นปัญหาๆ นี้ ดังนั้นในวันนี้เรายังคงจะต้องพูดถึงเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ อยู่นะครับ ยังไงผมต้องขออนุญาตทำการเท้าความโดยย่อสักเล็กน้อยก่อนนะครับ เผื่อว่าจะมีเพื่อนๆ ท่านใดที่อาจจะไม่ได้มีโอกาสอ่านโพสต์ของเมื่อวานแต่ได้มาอ่านโพสต์ของผมในวันนี้ จะได้ไม่งงว่าเกิดอะไรขึ้น ซึ่งเรื่องมีอยู่ว่าน้องบนเฟซบุ้คของผมท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์เข้ามาเพื่อปรึกษาเรื่องป้ายโฆษณาป้ายหนึ่งซึ่งมีความสูงจากพื้นดินประมาณ 7500 มม หรือ 7.50 เมตร   พอผมได้เห็นลักษณะและรูปร่างจากรูปถ่ายแล้วก็เลยได้สอบถามไปยังน้องท่านนี้ถึงกรณีของจุดรองรับของโครงสร้างดังกล่าวว่ามีลักษณะเป็นเช่นใด … Read More

ระดับของน้ำใต้ดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เหมือนเช่นเคยในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเสวนาถึงคำถามประจำสัปดาห์ โดยที่คำถามประจำสัปดาห์ที่ผมได้ให้ไปเมื่อวานนี้จะมีความเกี่ยวข้องกับเรื่องความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานและเนื่องจากเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาผมได้ทำการโพสต์ อธิบาย รวมถึงยกตัวอย่างเกี่ยวกับเรื่องวิธีการในการคำนวณหาค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดินตามวิธีการของ TERZAGHI ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันไปแล้ว โดยที่ปัญหาที่ผมได้ทำการหยิบยกขึ้นมาเป็นตัวอย่างในวันนั้นและวันนี้จะมีรายละเอียดต่างๆ เหมือนกันเกือบทุกประการยกเว้นเพียงสิ่งๆ เดียวนั่นก็คือ ปัญหาประจำสัปดาห์ในวันนี้ผมจะทำการเพิ่มเติมรายละเอียดในเรื่อง “ระดับของน้ำใต้ดิน” เพิ่มเติมเข้าไปด้วยนั่นเอง ซึ่งรายละเอียดของคำถามประจำสัปดาห์นี้ก็คือ … Read More

จุดรองรับแบบ FLEXIBLE SUPPORT

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ขณะนี้ผมกำลังพาเพื่อนๆ ทบทวนเนื้อหาอยู่ภายในหัวข้อ การนำเอาวิธีการที่มีชื่อเรียกว่า วิธีการงานน้อยที่สุด หรือชื่อในภาษาอังกฤษว่า LEAST WORK METHOD ซึ่งถือได้ว่าวิธีการนี้เป็น CLASSICAL METHOD วิธีการหนึ่งเลยก็ว่าได้ โดยที่วิธีการนี้จะเป็นการต่อยอดนำเอาวิธี … Read More

การจำแนกชนิดและประเภท ของดินที่ได้จากการ ทำการเจาะสำรวจชั้นดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดและอธิบายถึงเรื่องการจำแนกชนิดและประเภทของดินที่เราจะได้จากการทำการเจาะสำรวจชั้นดินนะครับ   เมื่อผมเอ่ยถึงเรื่องๆ นี้ผมคิดว่าคงจะมีเพื่อนๆ หลายๆ คนอาจจะมีคำถามในใจว่า เพราะเหตุใดเราจึงจำเป็นที่จะต้องทราบถึงชนิดและประเภทของดินทีได้จากการทำการทดสอบดิน ?   ผมต้องบอกไว้ตรงนี้เลยนะครับว่า เป็นเรื่องที่มีความจำเป็นอย่างมากเลยละครับที่จะต้องทราบ … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ปัญหาในวันนี้ยังคงเกี่ยวข้องกับเนื้อหาเมื่อสัปดาห์ที่แล้วนั่นก็คือเรื่องความเชื่อถือได้ของผลจากการวิเคราะห์โครงสร้างโดยการคำนวณด้วยมือและการใช้ซอฟต์แวร์ทาง FINITE ELEMENT นะครับ อย่างที่ผมได้เรียนไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าหากเพื่อนๆ มีความต้องการที่จะวิเคราะห์ให้ได้คำตอบที่ถูกต้องแบบแม่นตรงแบบเป๊ะๆ เลยโดยการคำนวณด้วยมือ เพื่อนๆ ก็จำเป็นที่จะต้องทำการวิเคราะห์โดยรวมผลทุกๆ อย่างที่เกิดขึ้นในโครงสร้างจริงๆ เข้าไปในขั้นตอนของการวิเคราะห์ด้วย มิเช่นนั้นผลก็จะเกิดค่าความคลาดเคลื่อนออกไปเหมือนกับที่ผมได้ยกตัวอย่างให้ดูกันในสัปดาห์ที่แล้ว ในทำนองเดียวกันหากเราต้องการคำตอบที่แม่นยำที่เกิดขึ้นภายในโครงสร้างจริงๆ จากการใช้ซอฟต์แวร์ทาง … Read More

1 9 10 11 12 13 14 15 32