บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การจำแนกประเภทของการรับกำลังของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   หลังจากที่เมื่อวานนี้ผมได้โพสต์ไปในหัวข้อ ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ซึ่งเนื้อหาจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง การคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็มเดี่ยว เลยทำให้ผมนึกถึงคำถามที่ผมเคยได้รับมาสักพักก่อนนี้ว่า   “หากเราทำการทดสอบและคำนวณดูแล้วพบว่า เสาเข็มของเราจะมีทั้งความสามารถในการรับแรงเนื่องจากทั้งแรงฝืดและแรงแบกทานในเวลาเดียวกัน … Read More

“Dowel” หรือ “เดือย” คืออะไร ???

สวัสดีครับ วันนี้ Mr.Spunman จะมีแนะนำเกี่ยวกับเรื่อง Dowel หรือว่า เดือย กันนะครับ “Dowel” หรือ “เดือย” คืออะไรมาดูกันครับ เส้นเหล็กเดือย (Dowel rebar) คือ เส้นเหล็กสำหรับต้านแรงดึง หรือแรงเฉือน หรือแรงเฉือนดึง ที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วนคอนกรีต … Read More

ตอกเสาเข็มข้างบ้าน หน้าบ้าน หลังบ้าน หรือสร้างใหม่ แนะนำเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE

ตอกเสาเข็มข้างบ้าน หน้าบ้าน หลังบ้าน หรือสร้างใหม่ แนะนำเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ SPUN MICRO PILE ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน เสาเข็มสามารถทำงานในที่แคบได้ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-50 ตัน/ต้น … Read More

หลักการของฐานแผ่ร่วม (COMBINE SPREAD FOOTING)

การออกแบบงานวิศวกรรมฐานรากแบบแผ่ในอาคาร อาจจะต้องประสบพบเจอกับปัญหา ทำให้เราไม่สามารถที่จะทำการวางฐานรากแบบเดี่ยว (ISOLATED SPREAD FOOTING) ได้ตามปกติ ดังนั้นหากเราต้องพบเจอกับกรณีแบบนี้ เราก็อาจจะจำเป็นที่จะต้องอาศัยหลักการของฐานแผ่ร่วม (COMBINE SPREAD FOOTING) เข้ามาใช้ในการออกแบบงานวิศวกรรมฐานราก เมื่อฐานรากแผ่แบบเดี่ยวนั้นถูกจำกัดไว้ด้วยตำแหน่งของเสาในอาคาร และ เขตพื้นที่ อันอาจจะทำให้เกิดการเยื้องศูนย์ (ECCENTRICITY) ระหว่างจุดศูนย์กลางของพื้นที่ฐานราก และ … Read More

1 87 88 89 90 91 92 93 169