บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ต้องการเสาเข็ม ต่อเติม อาคารโรงงาน ใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (SPUN MicroPile) โดย ภูมิสยาม 

ต้องการเสาเข็ม ต่อเติม อาคารโรงงาน ใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (SPUN MicroPile) โดย ภูมิสยาม  ต่อเติมอาคารโรงงาน แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ เหมาะสำหรับ การตอกรับพื้นหรือขยายโรงงาน เพื่อเสริมฐานรากที่มั่นคงแข็งแรง เพราะเสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มขนาดเล็กที่มีความแข็งแรงมาก จากการ สปัน (กรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง) … Read More

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ เสาเข็มต่อเติม มาตรฐาน มอก. พร้อมบริการ

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ เสาเข็มต่อเติม มาตรฐาน มอก. พร้อมบริการ สวัสดีครับ วันนี้ Mr.SpunMan ขอนำภาพการตอกเสาเข็ม ที่ไซต์ที่ต้องตอกในบ่อมาฝากครับ งานง่าย งานยาก งานด่วน งานเร่ง งานที่ต้องการมาตรฐานสูง เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. พร้อมทีมงานช่างที่มีประสบการณ์ … Read More

กรณีที่ฐานรากแบบเสาเข็มเดี่ยวนั้น ต้องรับน้ำหนักแบบเยื้องศูนย์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปที่แสดงจะเห็นได้ว่าเป็นแปลนของโครงสร้างฐานราก F1a และ F1b นั้นวางห่างกันเท่ากับระยะ … Read More

การทดสอบค่ายุบตัวของคอนกรีต (SLUMP TEST)

การทดสอบค่ายุบตัวของคอนกรีต (Slump Test) ใช้เพื่อทดสอบหาค่าความข้นเหลวของคอนกรีตในสภาพเหลวโดยใช้วิธีการทดสอบหาค่าการยุบตัว เพื่อตรวจสอบความสามารถเทได้ของคอนกรีต (Workability) ค่ายุบตัวไม่ได้เป็นค่าที่วัดความสามารถเทได้ของคอนกรีตโดยตรง แต่เป็นการวัดความข้นเหลวของคอนกรีต (Consistency) หรือลักษณะการไหลตัวของคอนกรีต (Flow Characteristic) แม้วิธีนี้จะไม่เหมาะสมสำหรับทดสอบคอนกรีตที่เหลว หรือแห้งมากแต่ก็มีประโยชน์อย่างมากและสะดวกสำหรับการควบคุมความสม่ำเสมอของการผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ เช่น ในกรณีที่ค่ายุบตัวของคอนกรีตมีค่ามากกว่าปกติที่ออกแบบไว้ แสดงให้เห็นว่าจะต้องมีความผิดปกติเกิดขึ้นในสัดส่วนผสม ขนาดคละหรือความชื้นในมวลรวมซึ่งจะช่วยให้ผู้ผลิตคอนกรีตสามารถตรวจสอบและแก้ไขได้ การทดสอบทำโดยตักคอนกรีตใส่ลงในโคนที่มีลักษณะเป็นกรวยยอดตัดให้ได้ 3 ชั้น … Read More

1 82 83 84 85 86 87 88 169