บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การคำนวณหาค่าหน่วยแรงเฉือน ตามแนวยาวเพื่อนำมาใช้ในการออกแบบหน้าตัดเชิงประกอบ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ   เมื่อประมาณสองถึงสามสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้รับคำถามเข้ามาทางข้อความซึ่งมาจากน้องวิศวกรท่านหนึ่ง ซึ่งได้ทำการสอบถามผมเข้ามา โดยมีใจความของคำถามว่า “อยากไขข้อสงสัยเรื่องรอยเชื่อมบนโครงสร้างอเสเหล็ก จากรูปที่ 1 จะเห็นว่าเป็นแบบรอยเชื่อมคานอเสแบบประกบคู่ ซึ่งในแบบได้ทำการระบุความยาวรอยของเชื่อมเอาไว้ว่าให้มีระยะความยาวของรอยเชื่อมเท่ากับ 5 CM ทุกๆ … Read More

ความรู้เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง การออกแบบเสายาว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้เมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้ว่า ในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาตัวอย่างที่เป็นการแสดงขั้นตอนในการคำนวณหาค่า MAGNIFICATION FACTOR โดยวิธีการละเอียดเอามาฝากให้แก่เพื่อนๆ โดยที่ตัวอย่างที่ผมจะนำเอามาให้เพื่อนๆ ดูในวันนี้จะเป็นการอธิบายการคำนวณให้ดูเฉพาะเพียงแค่การรับแรงดัดรอบแกนอ่อนของโครงสร้างเสา หรือ WEAK AXIS เพียงแค่แกนเดียว … Read More

ต่อเติมหลังบ้าน ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ของ Bhumisiam (ภูมิสยาม)ดีไหมครับ ? รับน้ำหนักได้กี่ตันครับ

ต่อเติมหลังบ้าน ใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ของ Bhumisiam (ภูมิสยาม)ดีไหมครับ ? รับน้ำหนักได้กี่ตันครับ ดีครับ ด้วยเหตุผล เข้าพื้นที่แคบได้ และ เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักปลอดภัย 20-50 ตัน มีหลายขนาด 21, 23, 25, 30 ซม. … Read More

ทำไมการตอกเสาเข็ม จึงต้องวิเคราะห์ทางสถิตยศาสตร์ และการวิเคราะห์ทางพลศาสตร์

ทำไมการตอกเสาเข็ม จึงต้องวิเคราะห์ทางสถิตยศาสตร์ และการวิเคราะห์ทางพลศาสตร์ การต่อเติมโครงสร้างอาคารส่วนใหญ่จะใช้เสาเข็มที่สามารถรับน้ำหนักได้มากในการก่อสร้างฐานราก เพื่อให้โครงสร้างเหล่านี้มีความมั่นคง ปลอดภัยในการใช้งาน นอกจากการสำรวจและออกแบบแล้ว การเลือกใช้เสาเข็มที่มีคุณภาพ มีมาตรฐานรับรองก็เป็นส่วนสำคัญอย่างยิ่ง เพราะการรับน้ำหนักของโครงสร้าง เสาเข็มจะเป็นตัวกลางในการรับน้ำหนักจากฐานรากก่อนแล้วจึงค่อยถ่ายเทลงสู่ชั้นดิน ซึ่งจะแตกต่างจากฐานรากที่ไม่มีเสาเข็มมารองรับน้ำหนัก เพราะดินจะรับน้ำหนักจากฐานรากโดยตรง เสาเข็มจึงเป็นส่วนสำคัญสำหรับงานก่อสร้าง หรืองานต่อเติม และเพื่อให้การออกแบบสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ เป็นไปอย่างละเอียดรอบครอบ ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม ควรให้วิศวกรที่เชี่ยวชาญมาวิเคราะห์ทางสถิตยศาสตร์ … Read More

1 80 81 82 83 84 85 86 169