บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ภูมิสยามฯ ร่วมสร้างโรงพยาบาล

ภูมิสยามฯ ร่วมสบทบทุนด้วยการตอกเสาเข็มเป็นปัจจัยในการก่อสร้างโรงพยาบาลพระราชสิทธิวราจารย์สร้างพื้นฐานคุณภาพชีวิต ตอบแทนสังคมที่ทำมาอย่างต่อเนื่อง นายรัฐโรจน์ ภูริหิรัญพิพัฒ กรรมการผู้จัดการบริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ร่วมสมทบทุนด้วยการตอกเสาเข็ม เป็นปัจจัยในการก่อสร้างโรงพยาบาล มูลค่ารวมกว่า 660,000 บาท

วิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตอบข้อสงสัยของน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ได้ฝากคำถามเอาไว้ในอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมกี่ยวกับเรื่องค่า SPT โดยใจความของคำถามก็คือ   “ที่อาจารย์เคยโพสต์ว่าตามปกติในเขตของกรุงเทพมหานครและปริมณฑลหากเราต้องการที่จะให้เสาเข็มของเรานั้นเป็นเสาเข็มรับแรงแบกทานหรือว่า BEARING PILE เราจะต้องเลือกตำแหน่งในการวางปลายของเสาเข็มโดยจะดูจากค่า SPT-N ให้อยู่ที่ประมาณ … Read More

“Post-“

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ เมื่อสัปดาห์ก่อนผมได้เล่าให้ฟังถึงคำว่า “Pre-“ ไป วันนี้เราจะมาดูคำที่มีความหมาย “ตรงกันข้าม” กับคำๆ นี้กันดีกว่า นั่นก็คือคำว่า “Post-“ นั่นเองนะครับ … Read More

การนำข้อมูลจากผลการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน      วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากวันนี้เป็นวันที่ 2 ซึ่งถือว่าเป็นช่วงต้นๆ ของการโพสต์ในหัวข้อนี้ ดังนั้นในวันนี้ผมจะมาเริ่มต้นอธิบายถึงขั้นตอนในการเจาะสำรวจดินให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบกันนะครับ ในการทดสอบคุณสมบัติของชั้นดินนั้นวิศวกรผู้ออกแบบจำเป็นที่จะต้องทำการกำหนดรายละเอียดของการสำรวจดินอย่างชัดเจนว่ามีรายละเอียดเป็นเช่นไร เช่น จะทำการเจาะทั้งหมดกี่หลุม … Read More

1 77 78 79 80 81 82 83 169