บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

SPUN MICROPILE ตอกเสาเข็มภายในอาคาร ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย และ ความสูงไม่เกิน 2.6 เมตรได้ ครับ

SPUN MICROPILE ตอกเสาเข็มภายในอาคาร ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย และ ความสูงไม่เกิน 2.6 เมตรได้ ครับ เพราะว่า เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงการเพื่อการระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย – สวัสดีครับ ช่วงนี้งานเสริมฐานรากอาคาร หรือ … Read More

การรับกำลังของเสาเข็มเดี่ยวและกลุ่ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้ทำการแจ้งกับเพื่อนๆ ไปว่าในสัปดาห์นี้ผมจะขออนุญาตมาทำการสรุปเนื้อหาที่ผมได้ทำการโพสต์ อธิบายพร้อมกับยกตัวอย่างไปในตลอดหลายๆ สัปดาห์ที่ผ่านมาให้เพื่อนๆ รับทราบกันอีกสักรอบหนึ่ง ก่อนที่ในสัปดาห์ถัดๆ ไปนั้นเราจะได้ขึ้นหัวข้ออื่นๆ กันต่อไปนะครับ   จริงๆ แล้วหากเราจะมาทำการสรุปเนื้อหาในการออกแบบโครงสร้างฐานรากที่เป็นแบบ DEEP … Read More

ป้องกันการสร้างอาคารใหม่ไม่ให้ทรุดตัว กับการเลือกใช้วัสดุที่ทำให้ฐานรากมั่นคง

ป้องกันการสร้างอาคารใหม่ไม่ให้ทรุดตัว กับการเลือกใช้วัสดุที่ทำให้ฐานรากมั่นคง ปัจจุบันการสร้างอาคารใหม่ในประเทศไทย สถาปนิกและวิศวกรส่วนใหญ่จะต้องออกแบบให้โครงสร้างของอาคารมีฐานรากที่แข็งแรง โดยจะต้องคำนวณตั้งแต่ฐานราก คาน เสา แผ่นพื้น ไปจนถึงหลังคา เพื่อให้แน่ใจว่าเสาเข็มที่นำมาเป็นฐานรากสามารถรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย ไม่มีการทรุดตัวเกิดขึ้น เพราะถ้าหากโครงสร้างทรุดตัวลงอยู่ในเกณฑ์ที่ไม่สามารถรองรับน้ำหนักได้ อาคารที่สร้างขึ้นก็จะเกิดการแตกร้าว เสาเข็มที่เป็นฐานรากก็จะเกิดความเสียหาย ดังนั้นการเลือกใช้เสาเข็มจึงมีความจำเป็นอย่างมากที่ต้องให้วิศวกรผู้เชี่ยวแนะนำ เพื่อให้การออกแบบสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ เป็นไปอย่างละเอียดรอบครอบ ลดความผิดพลาดในการคำนวณการใช้เสาเข็ม ทั้งนี้เสาเข็มต้องผ่านการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดิน

การออกแบบวิศวกรรมงานดิน (GEOTECHNICAL ENGINEERING หรือ GFE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดิน (GEOTECHNICAL ENGINEERING หรือ GFE) นะครับ โดยในวันนี้ผมจะมทำการเฉลย QUIZ ข้อเมื่อวานที่ผมได้ถามเพื่อนๆ ไปนะครับ จริงๆ นี่เป็นครั้งแรกที่ผมเชิญชวนเพื่อนๆ มาร่วมสนุกกัน ก็ไม่ทราบว่าผมตั้งคำถามยากเกินไปหรือเปล่านะครับ … Read More

1 68 69 70 71 72 73 74 169