บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

SPUN MICROPILE เสาเข็มสปันไมโครไพล์ – Last 10 Blow Count

สวัสดีครับ วันนี้ Mr.เสาเข็ม จะมาแนะนำถึงการตรวจสอบความปลอดภัยในการตอกเสาเข็มด้วยวิธี Last 10 Blow Count กันนะครับ โดยปกติถ้าเป็นดินที่อยู่แถวกรุงเทพฯ ซึ่งจะเป็นดินอ่อน การจะตอกเสาเข็มให้ลึกจนถึงชั้นดินแข็งได้ก็จะต้องตอกให้ลึกประมาณ 21 เมตร หากใช้เสาเข็มแบบสปันไมโครไพล์ก็จะต้องใช้เสาเข็ม 14 ท่อนในการตอก 1 ต้น แต่เนื่องจากว่าหน้าดินของแต่ละที่ไม่เหมือนกันดังนั้นจึงต้องหาวิธีที่เป็นมาตรฐานในการทดสอบว่าเสาเข็มที่ตอกไปลงลึกจนถึงระดับที่จะสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ … Read More

ระดับของน้ำใต้ดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เหมือนเช่นเคยในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเสวนาถึงคำถามประจำสัปดาห์ โดยที่คำถามประจำสัปดาห์ที่ผมได้ให้ไปเมื่อวานนี้จะมีความเกี่ยวข้องกับเรื่องความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานและเนื่องจากเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมาผมได้ทำการโพสต์ อธิบาย รวมถึงยกตัวอย่างเกี่ยวกับเรื่องวิธีการในการคำนวณหาค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดินตามวิธีการของ TERZAGHI ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันไปแล้ว โดยที่ปัญหาที่ผมได้ทำการหยิบยกขึ้นมาเป็นตัวอย่างในวันนั้นและวันนี้จะมีรายละเอียดต่างๆ เหมือนกันเกือบทุกประการยกเว้นเพียงสิ่งๆ เดียวนั่นก็คือ ปัญหาประจำสัปดาห์ในวันนี้ผมจะทำการเพิ่มเติมรายละเอียดในเรื่อง “ระดับของน้ำใต้ดิน” เพิ่มเติมเข้าไปด้วยนั่นเอง ซึ่งรายละเอียดของคำถามประจำสัปดาห์นี้ก็คือ … Read More

การวิเคราะห์โครงสร้างคานยื่นที่มีลักษณะความยาวช่วงที่ค่อนข้างจะสั้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หากเพื่อนๆ ยังจำกันได้เมื่อสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้ให้ความช่วยเหลือน้องนักศึกษาท่านหนึ่งที่ได้เข้ามาปรึกษาเรื่องการวิเคราะห์โครงสร้างคานยื่นที่มีลักษณะความยาวช่วงที่ค่อนข้างจะสั้น จากการพูดคุยกันผลปรากฏว่าน้องน่าที่จะมีความเข้าใจในประเด็นข้อสงสัยต่างๆ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ยังไงผมก็อวยพรให้น้องท่านนี้โชคดีก็แล้วกันเพราะต่อไปเมื่อเรียนจบน้องต้องออกไปทำงานน้องก็จะต้องเจอกับปัญหาที่มีความหนักหน่วงมากกว่านี้หลายเท่านัก เพื่อนๆ ละครับได้อ่านปัญหาของน้องท่านนี้แล้วมีใครบ้างหรือไม่ครับที่นำเอาไปคิดต่อกันบ้าง ?   ดังนั้นในวันนี้ผมจะมาทำการสรุปให้เพื่อนๆ ทุกคนได้รับทราบกันเป็นโพสต์สุดท้ายก็แล้วกัน หากจะว่าไปแล้วปัญหาของน้องนักศึกษาท่านนี้จะมีอยู่ด้วยกัน 2 ประการหลักๆ … Read More

ต่อเติมบ้าน ป้องกันการทรุด และแตกร้าวของส่วนต่อเติม ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spunmicropile และไอไมโครไพล์ I-micropile

ต่อเติมบ้าน ป้องกันการทรุด และแตกร้าวของส่วนต่อเติม ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spunmicropile และไอไมโครไพล์ I-micropile การต่อเติมบ้าน มักพบกับปัญหาบ้านทรุด ถึงแม้จะมีการตอกเสาเข็มแล้ว แต่การตอกเสาเข็มนั้นสั้นเกินไป ไม่ลึกถึงชั้นดินดาน ทำให้ผิดจากมาตรฐานที่ควรจะเป็น ทำให้เกิดการยุบตัวของพื้นดิน และเมื่อการทรุดตัวที่ไม่เท่ากันเกิดขึ้น บ้านและส่วนที่ต่อเติมจึงแยกออกจากกัน หากปัญหานี้เกิดขึ้นแล้ว การแก้ไขคือต้องรื้อส่วนที่ต่อเติมและลงเสาเข็มใหม่ ดังนั้นการที่เราจะทำการต่อเติม จะต้องป้องกันปัญหาให้ถูกจุด … Read More

1 4 5 6 7 8 9 10 169