การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ ที่บริเวณ โคน หรือ ขอบล่าง ของโครงสร้างเสา คสล ไม่ว่าจะเป็น เสาช่วงกลาง … Read More
ระยะการยุบตัว หรือ ที่เราเรียกกันในภาษาช่างว่า SLUMP
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้แก่เพื่อนๆ ถึงประเด็นที่ต้องถือว่ามีความสำคัญมากอย่างหนึ่งในการทำงานก่อสร้างโครงสร้าง คสล แต่ ก็มักที่จะถูกมองข้ามไปอยู่เสมอๆ เลยนะครับ นั่นก็คือประเด็นในเรื่องของ ระยะการยุบตัว หรือ ที่เราเรียกกันในภาษาช่างว่า SLUMP นะครับ เพื่อนๆ ทราบกันหรือไม่ครับว่าเพราะเหตุใดค่าการยุบตัว หรือ SLUMP นี้จึงมีความสำคัญมากในการทำงานก่อสร้างโครงสร้าง คสล … Read More
โครงสร้างทางเดินที่อยู่ภายนอกอาคาร ที่วางอยู่โดยตรงบนดิน
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาเล่าปัญหาอย่างหนึ่งที่พวกเรามักจะเจออยู่กันเป็นประจำทุกครั้งที่ทำการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน จนในที่สุดบางคนก็เห็นจนเป็นเรื่องคุ้นชินกันไปซะแล้ว นั่นก็คือ การที่โครงสร้างทางเดินที่อยู่ภายนอกอาคารนั้นไม่ใช่โครงสร้างที่ฝากเอาไว้บนโครงสร้างที่มีเสาเข็ม แต่ เป็นโครงสร้างที่วางอยู่โดยตรงบนดิน และ โครงสร้างดังกล่าวเกิดการทรุดตัวลงไปจนทำให้ส่วนที่เป็นมุมทางเดินนั้นเกิดการแตกหรือหักลงไป นั่นเองนะครับ กรณีมักจะเกิดขึ้นกับ บ้านเรือน หรือ อาคาร … Read More
การคำนวณค่าแรงแบกทาน
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกท่านครับ สืบเนื่องจากเมื่อวันก่อนผมได้โพสต์เกี่ยวกับเรื่องค่าแรงแบกทานที่ยอมให้ของดินซึ่งจะมีประโยชน์ก็ต่อเมื่อเรานำค่าๆ นี้ไปออกแบบระบบฐานรากวางบนดิน ก้ได้รับข้อความหลังไมค์มาสอบถามเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้พอสมควรนะครับ ผมจึงคิดว่าวันนี้จะมายก ตย ถึงการคำนวณในเรื่องนี้ให้แก่เพื่อนๆ นะครับ มาเริ่มต้นดูรูปที่ 1 ก่อนนะครับ ฐานรากวางบนดินที่เราจะทำการออกแบบนี้มีขนาดความกว้าง 4 m ความยาว 6 m รับ นน … Read More