“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” แรงเฉือนโดยตรง
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ อย่างที่ผมได้เรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้แล้วว่าผมกำลังจะมาอธิบายและให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับการออกแบบ ชิ้นส่วนโครงสร้างที่ต้องทำหน้าที่ในการรับ แรงเฉือนโดยตรง หรือ DIRECT SHEAR ซึ่งมีคำถามเข้ามาเยอะพอสมควรเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ ซึ่งถึงแม้โพสต์ในทุกๆ … Read More
วิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตอบข้อสงสัยของน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่ได้ฝากคำถามเอาไว้ในอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมกี่ยวกับเรื่องค่า SPT โดยใจความของคำถามก็คือ “ที่อาจารย์เคยโพสต์ว่าตามปกติในเขตของกรุงเทพมหานครและปริมณฑลหากเราต้องการที่จะให้เสาเข็มของเรานั้นเป็นเสาเข็มรับแรงแบกทานหรือว่า BEARING PILE เราจะต้องเลือกตำแหน่งในการวางปลายของเสาเข็มโดยจะดูจากค่า SPT-N ให้อยู่ที่ประมาณ … Read More
ในงานตอกเสาเข็ม LAST 10 BLOW COUNT
โดยปกติถ้าเป็นดินที่อยู่แถวกรุงเทพฯ ซึ่งจะเป็นดินอ่อน การจะตอกเสาเข็มให้ลึกจนถึงชั้นดินแข็งได้ก็จะต้องตอกให้ลึกประมาณ 21 เมตร หากใช้เสาเข็มแบบสปันไมโครไพล์ก็จะต้องใช้เสาเข็ม 14 ท่อนในการตอก 1 ต้น แต่เนื่องจากว่าหน้าดินของแต่ละที่ไม่เหมือนกันดังนั้นจึงต้องหาวิธีที่เป็นมาตรฐานในการทดสอบว่าเสาเข็มที่ตอกไปลงลึกจนถึงระดับที่จะสามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ วิธีที่นิยมใช้ก็คือการนับโบว์เคาท์ Last 10 Blow Count หมายถึงระยะจมของเสาเข็มในการทดสอบด้วยการตอก 10 ครั้ง ซึ่งจะต้องมีค่าไม่เกินกว่าที่คำนวณได้จึงจะผ่านเกณฑ์ … Read More
ต่อเติมอย่างมั่นใจ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ภูมิสยาม ไมโครไพล์
ต่อเติมอย่างมั่นใจ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ ตอกเสา เข็มไมโครไพล์ ฐานป้ายจราจร ฐานเสาสัญญาน หรือโครงสร้างๅทุกชนิดเพื่อป้องกันการทรุด เสาเข็มภูมิสยามฯ ตอบโจทย์ครับ ถ้าเป็นโครงสร้างเบาแนะนำสปันไมโครไพล์ แบบสี่เหลี่ยม S18x18 cm. หรือ 22 cm. แนวทแยง รับน้ำหนัก … Read More