บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เทคนิคในการออกแบบต่อเติมโครงสร้างโดยใช้วิธีการ PRE-LOADING

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้ผมจะขออนุญาตพูดต่อเนื่องจากในสัปดาห์ที่แล้วที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องเทคนิคๆ หนึ่งที่ผมได้นำมาใช้ในงานต่อเติมโครงสร้างจริงๆ นั่นก็คือ เทคนิคในการออกแบบต่อเติมโครงสร้างโดยใช้วิธีการ PRE-LOADING ทั้งนี้ก็เพื่อที่เราจะอาศัยโครงสร้างเสาเข็มที่อาจจะมีความลึกไม่มาก กล่าวคือความลึกอาจจะไม่ถึงชั้นดินทราย แต่ ผลกระทบในเรื่องของการทรุดตัวนั้นมีน้อยกว่ากรณีที่ไม่ทำโดยอาศัยเทคนิควิธีการดังกล่าวนี้   ก่อนอื่นเรามาทวนกันสักนิดเกี่ยวกับเรื่องหลักของการทำ … Read More

สปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE ตอกใกล้กระจกได้ แรงสั่นสะเทือนน้อย

สปันไมโครไพล์ SPUN MICROPILE ตอกใกล้กระจกได้ แรงสั่นสะเทือนน้อย ต้องการตอกเสาเข็มต่อเติมในพื้นที่ แคบในอาคาร ได้มาตรฐาน แนะนำเสาเข็มสปันไครไพล์ ตอกแล้วไม่กระทบโครงสร้างเดิม โดย BSP-Bhumisiam ตัวอย่าง ผลงานของเรา งานการไฟฟ้า การประปา โรงกลั่นน้ำมัน เป็นต้นครับ ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. … Read More

ตอกเสาเข็มต่อเติม เสริมฐานรากโรงงาน แนะนำใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ (Spun Micro Pile) โดย ภูมิสยาม

ตอกเสาเข็มต่อเติม เสริมฐานรากโรงงาน แนะนำใช้ เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ (Spun Micro Pile) โดย ภูมิสยาม จะต่อเติมเสริมฐานรากอาคาร ขยายอาคาร ขยายโรงงาน ตอกรับฐานเครื่องจักร แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์แท้ มาตรฐาน มอก. 397-2524 สามารถรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย ตามหลักวิศวกรรม … Read More

ระยะคอนกรีตหุ้มผิวเหล็ก (CONCRETE COVERING) มีระยะต่ำสุดที่เท่าไหร่

ระยะคอนกรีตหุ้มผิวเหล็กหรือระยะหุ้มของคอนกรีต (Concrete Covering) ก็คือระยะของคอนกรีตที่ทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้เหล็กเสริมสัมผัสกับน้ำหรืออากาศโดยตรงเพื่อทำหน้าที่ป้องกันการกัดกร่อนของสารเคมี หรือป้องกันไม่ให้เหล็กเสริมทำปฏิกิริยากันเหล็กเสริมจนทำให้เกิดสนิมขุม และทำให้โครงสร้างสูญเสียความสามารถในการรับกำลังในที่สุด ทั้งนี้การวัดความหนาของระยะคอนกรีตหุ้มผิวเหล็กหรือระยะหุ้มของคอนกรีต ให้วัดจากผิวด้านนอกของคอนกรีตลึกเข้าไปจนถึงผิวด้านนอกของเหล็กปลอก (ในกรณีที่ไม่มีเหล็กปลอกก็ให้วัดถึงผิวของเหล็กเสริมเส้นนอกสุด) สำหรับระยะห่างระหว่างเหล็กเสริมนั้น ACI กำหนดให้ระยะช่องว่างน้อยที่สุดระหว่างเหล็กเสริมเท่ากับค่าที่มากกว่าของเส้นผ่าศูนย์กลางเหล็กเสริม DB, 2.5 ซ.ม. และ 1.33 เท่าของขนาดมวลรวมโตสุด โดยเหล็กนอนในคานทั้งหมดจะถูกห่อหุ้มโดยเหล็กปลอก ระยะหุ้มคอนกรีตต่ำสุดที่ … Read More

1 21 22 23 24 25 26 27 169