การจำลองโครงสร้างแผ่นพื้น 2 แผ่นในซอฟต์แวร์ทาง FINITE ELEMENTS
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ สืบเนื่องจากการที่เมื่อวานผมได้ทำการอธิบายถึงวิธีในการทำงานก่อสร้างโครงสร้าง แผ่นพื้น หรือ ผนัง คสล ที่มีช่องเปิด ก็พบว่าได้รับความสนใจและคำถามจากเพื่อนๆ มากเลยนะครับ … Read More
จะสร้างบ้านทั้งที ควรตอกเสาเข็มให้ลึกเท่าไหร่ บ้านถึงจะไม่ทรุด
ความสำคัญของเสาเข็ม เสาเข็มเป็นชิ้นส่วนที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งของโครงสร้างบ้าน เป็นส่วนประกอบของฐานรากซึ่งจะฝังตัวอยู่ในดินเพื่อทำหน้าที่รองรับน้ำหนักบ้านทั้งหลัง หากว่าเราสร้างบ้านแล้วไม่ได้ลงเสาเข็มไว้ น้ำหนักของตัวบ้านก็จะกดทับผิวดินด้านบนให้ค่อยทรุดตัวลงทีละนิดจนก่อให้เกิดความเสียหายต่อโครงสร้างบ้านได้ เสาเข็มช่วยแก้ปัญหาบ้านทรุดได้ยังไง เสาเข็มรับน้ำหนักได้อย่างไร? เสาเข็มสามารถรับน้ำหนักที่กดทับได้ด้วยแรง 2 ชนิดหลักๆ คือ แรงเสียดทานที่ผิวของเสาเข็ม (Skin Friction) คือแรงต้านที่เกิดจากแรงเสียดทานระหว่างผิวของเสาเข็มกับดินโดยรอบ ซึ่งแรงที่เกิดขึ้นนี้จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับชนิดของดินและลักษณะของเสาเข็มแต่ละประเภท แรงต้านที่ปลายเสาเข็ม (End Bearing) คือแรงต้านที่เกิดขึ้นบริเวณปลายเสาเข็ม … Read More
ฐานรากแผ่
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขอโพสต์ตอบคำถามแก่วิศวกรที่หลังไมค์มาถามผมต่อเนื่องจากโพสต์ช่วงนี้ของผมที่มีความเกี่ยวเนื่องกับเรื่องฐานรากแผ่นะครับ ซึ่งโพสต์ๆ นี้น่าที่จะเป็นโพสต์สุดท้ายของเรื่องๆ นี้ก่อนนะครับ แต่ หากเพื่อนๆ มีข้อสงสัยและต้องการจะสอบถามผมเกี่ยวกับเรื่องฐานรากแผ่ก็สามารถที่จะถามข้อสงสัยมายังผมได้เลยนะครับ หากผมพบว่าคำถามน่าสนใจและมีเวลาว่างผมจะรีบตอบข้อซักถามให้นะครับ คำถามวันนี้คือ หากเราเป็นคนทำงานก่อสร้างฐานรากบนดิน โดยในแบบระบุความลึกมาตรฐานที่เราต้องทำการวางปลายฐานรากเอาไว้แล้ว แต่ เมื่อเปิดหน้าดินมาพบว่าเราไม่สามารถที่จะขุดดินลงไปได้ลึกตามระดับที่กำหนดไว้ในแบบได้ อาจเนื่องด้วยดินมีความแข็งมากๆ และ ตอนทำการทดสอบดินไม่ว่าจะการทำ BORING LOG … Read More
สภาวะของการที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเกิดแรงดึงฉุดลง
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ในวันนี้ผมอยากจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงหัวข้อที่มีความสำคัญมากหัวข้อหนึ่งที่มีความเกี่ยวพันกันกับเรื่องของการรับกำลังของเสาเข็มของเรา ซึ่งเอาเข้าจริงๆ แล้วตัวของผมเองก็เคยได้ทำการพูดถึงหัวข้อๆ นี้ไปก็หลายครั้งแล้วในการโพสต์ของผมก่อนหน้านี้ เรื่องๆ นี้ก็คือ สภาวะของการที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้น เกิดแรงดึงฉุดลง หรือ NEGATIVE … Read More