เสริมฐานรากให้มั่นคงด้วย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile
เสริมฐานรากให้มั่นคงด้วย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile หลายครั้งที่การก่อสร้างฐานเสร็จไม่มีการทดสอบกำลังการรับน้ำหนักของดิน ทำให้โครงสร้างเกิดปัญหาการทรุดตัว อาคารเอียงและกำแพงแตกร้าว ซึ่งเป็นอันตรายต่อผู้อยู่อาศัย การแก้ปัญหาการทรุดตัว คือ เสริมความแข็งแรงให้กับโครงสร้างด้วยการตอกเสาเข็ม เพื่อให้แบกรับน้ำหนักจากตัวอาคารแล้วถ่ายเทน้ำหนักลงสู่ชั้นดินที่ลึกลงไป ซึ่งเสาเข็มที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน คือ เสาเข็มคอนกรีตที่ใช้นวัตกรรมแบบใหม่ในการผลิต โดยใช้แรงเหวี่ยง (สปัน=กรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง) ในแบบหล่อที่แข็งแรง ด้วยเครื่องจักรที่ทันสมัย เสาเข็มจึงมีความหนาแน่นและแข็งแกร่งกว่าคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีธรรมดา … Read More
SPUN MICROPILE ตอกเสาเข็มภายในอาคาร ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย และ ความสูงไม่เกิน 2.6 เมตรได้ ครับ
SPUN MICROPILE ตอกเสาเข็มภายในอาคาร ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย และ ความสูงไม่เกิน 2.6 เมตรได้ ครับ เพราะว่า เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงการเพื่อการระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย – สวัสดีครับ ช่วงนี้งานเสริมฐานรากอาคาร หรือ … Read More
คานคอดิน (GROUND BEAM) ควรอยู่สูงจากระดับพื้นดินเท่าไหร่
คานคอดิน (Ground Beam) คือส่วนประกอบโครงสร้างบนดินที่รับน้ำหนักพื้น ผนัง และสิ่งที่อยู่เหนือคานคอดินขึ้นไป แล้วจึงถ่ายน้ำหนักไปยังตอม่อและฐานรากต่อไป การก่อสร้างคานคอดิน แบ่งจากระดับความสูงจากพื้นดินได้ 2 แบบ คานคอดินวางอยู่บนระดับดิน เนื่องจากระดับพื้นชั้นล่างอยู่สูงจากระดับดินไม่มากนัก ในการก่อสร้างจึงมักทำเนินดินให้สูงเสมอท้องคานคอดิน และเทลีน (Lean) เพื่อใช้เป็นแบบหล่อท้องคานแทนการใช้ไม้แบบ และใช้ไม้แบบเฉพาะด้านข้างคานทั้งสองด้าน คานคอดินอยู่สูงจากระดับดินมากกว่า 1 … Read More
หลักการออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน สืบเนื่องจากการที่เมื่อวันก่อนแอดมินได้ทำการอธิบายถึงหลักการออกแบบฐานรากตื้น (SHALLOW FOUNDATION) ว่ามีหลักและวิธีในการออกแบบเพื่อรับแรงในแนวดิ่งและในแนวราบในะระดับที่ ADVANCE ขึ้นไปจากขั้นตอนปกติทั่วๆ ไปได้อย่างไรไปแล้วนะครับ วันนี้ผมจะมาอธิบายถึงหลักการออกแบบฐานรากเสาเข็ม (PILE FOUNDATION) กันบ้างนะครับ ก่อนอื่นต้องขอย้อนความสักเล็กน้อยให้ฟังก่อนนะครับว่าระบบฐานรากในโครงสร้างนั้นมีอยุ่ด้วยกันหลากหลายรูปแบบมาก โดยแต่ละรูปแบบนั้นจะมีทั้งข้อดี และ ข้อด้อย ของตัวเองขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ที่ใช้ อย่างไรก็ตามระบบฐานรากที่พบโดยทั่วไปจะจำแนกออกได้เป็น (A) … Read More