ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบโครงสร้างเหนือและใต้ดิน เรื่องเหล็กเสริมในโครงสร้างแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานครั้งที่หนึ่ง
ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบโครงสร้างเหนือและใต้ดิน เรื่องเหล็กเสริมในโครงสร้างแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานครั้งที่หนึ่ง สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการพูดถึงเรื่อง วิธีในการคำนวณหาเหล็กเสริมในแผ่นพื้นชนิดวางตัวอยู่บนคานที่เป็น แผ่นพื้นทางเดียว และ แผ่นพื้นสองทาง ให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนได้รับทราบกันนะครับ โดยมากแล้วเหล็กเสริมในแผ่นพื้นมักจะถูกกำหนดในแบบวิศวกรรมโครงสร้างให้เป็น เหล็กตะแกรง … Read More
การคำนวณหาค่าหน่วยแรงเฉือน ตามแนวยาวเพื่อนำมาใช้ในการออกแบบหน้าตัดเชิงประกอบ
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เมื่อประมาณสองถึงสามสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้รับคำถามเข้ามาทางข้อความซึ่งมาจากน้องวิศวกรท่านหนึ่ง ซึ่งได้ทำการสอบถามผมเข้ามา โดยมีใจความของคำถามว่า “อยากไขข้อสงสัยเรื่องรอยเชื่อมบนโครงสร้างอเสเหล็ก จากรูปที่ 1 จะเห็นว่าเป็นแบบรอยเชื่อมคานอเสแบบประกบคู่ ซึ่งในแบบได้ทำการระบุความยาวรอยของเชื่อมเอาไว้ว่าให้มีระยะความยาวของรอยเชื่อมเท่ากับ 5 CM ทุกๆ … Read More
ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ ภาษาสำหรับงานวิศวกรรม (ENGLISH FOR ENGINEERING WORK หรือ EEW) นะครับ วันนี้ผมมีประเด็นสำคัญประเด็นหนึ่งที่หลายๆ คนยังอาจจะไม่ค่อยเข้าใจวิธีในการนำไปใช้เท่าใดนัก นั่นก็คือเรื่อง Parts of Speech หรือ ส่วนต่างๆ ของคำพูด … Read More
ตัวอย่าง วิธีในการวางแนวลวดอัดแรง (TENDON PROFILE) ในหน้าตัดโครงสร้าง คอร
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) โดยที่ในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับงาน การออกแบบคอนกรีตอัดแรง (PRESTRESSED CONCRETE DESIGN) นั่นเองนะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณปลายเดือนเมษายนที่ผ่านมามีน้องวิศวกรท่านหนึ่งถามผมมาเกี่ยวกับ วิธีในการวางแนวลวดอัดแรง (TENDON PROFILE) … Read More