การ DERIVE ที่มาของค่า Pb
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เมื่อวานนี้ผมได้ทำการ DERIVE ที่มาของค่า Pb ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกัน เพื่อนๆ อาจจะเห็นว่ามีค่า สปส ค่าๆ หนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณ ค่าๆ นั้นก็คือ ค่า β1 นั่นเองครับ ค่า β1 … Read More
การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE)
การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่าเวลาที่ผมมักจะพูดถึง การออกแบบฐานรากรองรับเครื่องจักรขนาดใหญ่ (LARGE MACHINE FOUNDATION) ที่มีการสั่นตัวมาก (LARGE VIBRATION AMPLITUDE) ทางผู้ออกแบบเค้ามีวิธีการดูอย่างไรว่าโครงสร้างที่รองรับเครื่องจักรเหล่านี้มีความใช้ได้แล้ว ? สามารถที่จะทำการก่อสร้างเพื่อที่จะใช้เป็นฐานรากเพื่อรองรับเครื่องจักรนั้นๆ ได้แล้ว … Read More
ใช้ เสาเข็มต่อเติม SPUN MICROPILE สปันไมโครไพล์ ต่อเติมอาคารใหม่ หรือ ฐานรากอาคารใหม่ ได้ไหมครับ
ใช้ เสาเข็มต่อเติม SPUN MICROPILE สปันไมโครไพล์ ต่อเติมอาคารใหม่ หรือ ฐานรากอาคารใหม่ ได้ไหมครับ ได้ครับ เรามีตัวอย่างการใช้ เสาเข็มต่อเติม เพื่อทำฐานรากสร้างอาคารที่จอดรถ อาคาร จัสมิน ทาวเวอร์ ถนนแจ้งวัฒนะ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี SPUN … Read More
COLD JOINT – การแก้ปัญหาเวลาที่เทคอนกรีต แล้วคอนกรีตขาดช่วง
ในทางทฤษฎีการหยุดเทคอนกรีตนานเกิน 30 นาที ถ้าจะเทใหม่จะต้องรออีก 20 ชั่วโมง แต่ด้วยเวลาที่จำกัดเพื่อที่จะต้องเร่งปิดงานให้เสร็จทันกำหนดจึงไม่สามารถรอนานขนาดนั้นได้ เพราะจะไปกระทบกับงานในช่วงถัดไปที่ได้กำหนดเวลาเอาไว้แล้ว ดังนั้นจึงควรเทคอนกรีตให้ต่อเนื่องรวดเดียวจนเสร็จ แต่ก็มักจะมีเหตุสุดวิสัยที่ต้องหยุดงาน เช่น คอนกรีตขาดช่วงเพราะรถส่งคอนกรีตมาหน้างานไม่ทัน เป็นต้น ในบล็อกนี้จึงได้เขียนถึงการแก้ปัญหาเวลาคอนกรีตขาดช่วงแล้วจะทำยังไงให้เกิดความเสียหายน้อยที่สุด การแก้ปัญหาเวลาที่เทคานคอนกรีตแล้วคอนกรีตขาดช่วง วิเคราะห์ตามโครงสร้างของคานคอนกรีต จะมีความสามารถรับแรงอัดและแรงเฉือนได้ดี แต่จะไม่สามารถรับแรงดึงได้ ดังนั้นจึงจะเป็นต้องมีเหล็กเสริมเพื่อเพิ่มความสามารถในตรงนี้ และตามลักษณะของโมเมนต์กับแรงเฉือน … Read More