บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

สร้างใหม่ เลือกใช้เสาเข็มแบบไหน? ไม่ทรุด!! ไม่ร้าว!! แม้จะผ่านไปหลายปี

สร้างใหม่ เลือกใช้เสาเข็มแบบไหน? ไม่ทรุด!! ไม่ร้าว!! แม้จะผ่านไปหลายปี ดินมีหลายประเภทและหลายลักษณะ สภาพดินจึงมีผลต่อการทรุดร้าวเพราะเมื่อดินมีการเคลื่อนตัวย่อมส่งผลต่อฐานรากที่ไม่มั่นคง การลงเสาเข็มถือเป็นส่วนสำคัญอย่างมาก ต้องลงให้ลึกลงไปถึงชั้นดินแข็ง เพื่อให้มีแรงต้านและพยุงตัวอาคารไว้ ป้องกันการทรุดตัวที่จะเกิดขึ้นได้ในอนาคต ทำให้ผู้อยู่อาศัยรู้สึกอุ่นใจและปลอดภัย แน่นอนว่าการจะได้ฐานรากอาคารที่มั่นคงปลอดภัยไม่ใช่เรื่องง่าย ดังนั้นควรเลือกใช้เสาเข็มที่ได้รับอนุญาตแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน การออกแบบการผลิตและตอก ISO 9001:2015 และอาชีวอนามัยด้านความปลอดภัยในการตอก ISO 45001:2018 … Read More

เสาเข็ม ไมโครไพล์ MICROPILE SPUNMICROPILE เสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดย BSP ภูมิสยาม

เสาเข็ม ไมโครไพล์ MICROPILE SPUNMICROPILE เสาเข็มสปันไมโครไพล์ โดย BSP ภูมิสยาม – ต่อเติมในพิ้นที่ที่จำกัด เช่น ด้านบนเป็นสายไฟฟ้า ต้องใช้ปั้นจั่นขนาดเล็ก ต่อเติมในที่แคบ พื้นที่น้อย แนะนำเสาเข็ม ต่อเติมฐานรากอาคารขนาดใหญ่ แนะนำ เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมงานดินและฐานราก (GEOTECHNICAL & FOUNDATION ENGINEERING DESIGN หรือ GFE) นะครับ โดยที่ในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาไขข้อข้องใจให้แก่เพื่อนๆ ถึงประเด็นที่ว่า เพราะเหตุใดในขั้นตอนของการตอกเสาเข็มสปันไมโครไพล์ของทางภูมิสยามนั้นจึงต้องอาศัยเวลาในการทำงานการตอกเสาเข็มที่ค่อนข้างจะนานกว่าเสาเข็มตอกชนิดอื่นๆ เช่น ในวันหนึ่งๆ หากเป็นเสาเข็มต้นอื่นๆ อาจจะสามารถตอกเสาเข็มได้ 4 … Read More

แผนภูมิที่ทำหน้าที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ค่าของแรง และ ค่าของการเคลื่อนที่ หรือที่เรานิยมเรียกกันในภาษาอังกฤษว่า HYSTERESIS GRAPH

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตพาเพื่อนๆ ทุกคนไปเรียนรู้กันต่อถึงเรื่อง แผนภูมิที่ทำหน้าที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ค่าของแรง และ ค่าของการเคลื่อนที่ หรือที่เรานิยมเรียกกันในภาษาอังกฤษว่า HYSTERESIS GRAPH กันต่อเป็นโพสต์สุดท้ายของช่วงๆ นี้ก่อนที่เราจะขยับไปถึงเรื่องหรือหัวข้ออื่นๆ ต่อไปนะครับ   โดยเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้เล่าให้เพื่อนๆ … Read More

1 104 105 106 107 108 109 110 169