บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การหมุนฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ รวมไปถึงน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่เคยฝากคำถามกับผมเกี่ยวกับเรื่อง วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่ในการทำงานการตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้ กันต่อจากโพสต์เมื่อวานของผมนะครับ โดยวิธีการนี้ คือ การหมุนฐานราก นั่นเองนะครับ และ ผมได้ทำการเขียนรูป ตย มาเพื่อที่จะทำการอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับชมกันในการอธิบายครั้งนี้ด้วยอีกเช่นเคยนะครับ โดยการที่เราจะทำการแก้ไขฐานรากตามวิธีการที่ผมจะแนะนำให้แก่เพื่อนๆ ตาม ตย ในวันนี้มี วิธีในการทำงาน และ … Read More

SPUN MICROPILE สปันไมโครไพล์ เสาเข็ม ต่อเติมข้างบ้าน ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย

SPUN MICROPILE สปันไมโครไพล์ เสาเข็ม ต่อเติมข้างบ้าน ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย เพราะว่า เสาเข็มมีรูกลมกลวงตรงการเพื่อการระบายดินสามารถลดแรงสั่นสะเทือนได้ และ หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย วันนี้มีภาพการเตรียม ต่อเติม มาฝากเพิ่มเติม เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย … Read More

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ เสาเข็มต่อเติม มาตรฐาน มอก. พร้อมบริการ

เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ เสาเข็มต่อเติม มาตรฐาน มอก. พร้อมบริการ สวัสดีครับ วันนี้ Mr.SpunMan ขอนำภาพการตอกเสาเข็ม ที่ไซต์ที่ต้องตอกในบ่อมาฝากครับ งานง่าย งานยาก งานด่วน งานเร่ง งานที่ต้องการมาตรฐานสูง เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. พร้อมทีมงานช่างที่มีประสบการณ์ … Read More

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับค่าประสิทธิผลของการตอกเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการตอบปัญหาให้แก่เพื่อนๆ ของเราหลายๆ คนที่ผมเห็นว่าได้ทำการสอบถามกันเข้ามาหลายคนเลย ผมจึงได้ทำการรวบรวมคำถามข้อนี้ออกมาโดยมีใจความโดยรวมว่า   “เวลาที่เราทำการคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็มหรือ PILE DISPLACEMENT ที่จะใช้เวลาที่ทำการตอกในสิบครั้งสุดท้ายของการตอกเสาเข็มหรือที่เรานิยมเรียกกันว่า LAST … Read More

1 103 104 105 106 107 108 109 169