บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

มอร์ตาร์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ คำถามในวันนี้คือจากรูปที่ผมนำมาแสดงให้เพื่อนๆ ได้รับชมในวันนี้ เพื่อนๆ คิดว่าผมกำลังถือวัสดุอะไรอยู่ในมือครับ ? ถูกต้องนะครับ ในรูปนั้นเป็นมอร์ตาร์ที่ได้รับการผสมเม็ดโฟมลงไปนั่นเองนะครับ   … Read More

ปัญหาเรื่อง ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนไป เกี่ยวกับระบบเสาเข็มรับแรงฝืด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อช่วงประมาณสักหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้รับข้อความเข้ามาทางอินบ็อกซ์จากน้องท่านหนึ่งซึ่งใจความของคำถามนั้นมีดังต่อไปนี้ครับ “ผมจะรบกวนขอคำปรึกษาดังนี้ครับ หากเรามีความต้องการที่จะทำการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มเจาะแบบแห้งหรือ DRY PROCESS BORED PILE ด้วยวิธี DYNAMIC LOAD … Read More

เสาเข็ม ไมโครไพล์ MICROPILE SPUNMICROPILE เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ต่อเติมในพิ้นที่จำกัด โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม)

เสาเข็ม ไมโครไพล์ MICROPILE SPUNMICROPILE เสาเข็มสปันไมโครไพล์ ต่อเติมในพิ้นที่จำกัด โดย Bhumisiam (ภูมิสยาม) ต่อเติมในที่แคบ พื้นที่น้อย แนะนำเสาเข็ม ต่อเติมฐานรากอาคารขนาดใหญ่ แนะนำ เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย … Read More

การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การคำนวณทางด้านกลศาสตร์โครงสร้าง (STRUCTURAL MECHANICS COMPUTATION หรือ SMC) นะครับ เป็นยังไงกันบ้างครับเพื่อนๆ หวังว่าปัญหาที่ผมได้ให้ไว้นั้นคงไม่ได้ยากจนเกินไปนักนะครับ เอาละ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยปัญหาข้อนี้ให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนก็แล้วกัน แต่ ก่อนอื่นมาเรามาทวนปัญหาข้อนี้กันก่อนสักเล็กน้อย จากรูปจะเห็นได้ว่าโครงสร้างดังกล่าวนั้นเป็น โครงสร้างเส้นลวด (CABLE STRUCTURE) … Read More

1 99 100 101 102 103 104 105 169