เสริมฐานรากให้มั่นคงด้วย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile

เสริมฐานรากให้มั่นคงด้วย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile หลายครั้งที่การก่อสร้างฐานเสร็จไม่มีการทดสอบกำลังการรับน้ำหนักของดิน ทำให้โครงสร้างเกิดปัญหาการทรุดตัว อาคารเอียงและกำแพงแตกร้าว ซึ่งเป็นอันตรายต่อผู้อยู่อาศัย การแก้ปัญหาการทรุดตัว คือ เสริมความแข็งแรงให้กับโครงสร้างด้วยการตอกเสาเข็ม เพื่อให้แบกรับน้ำหนักจากตัวอาคารแล้วถ่ายเทน้ำหนักลงสู่ชั้นดินที่ลึกลงไป ซึ่งเสาเข็มที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน คือ เสาเข็มคอนกรีตที่ใช้นวัตกรรมแบบใหม่ในการผลิต โดยใช้แรงเหวี่ยง (สปัน=กรอ,หมุน,ปั่น,เหวี่ยง) ในแบบหล่อที่แข็งแรง ด้วยเครื่องจักรที่ทันสมัย เสาเข็มจึงมีความหนาแน่นและแข็งแกร่งกว่าคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีธรรมดา … Read More

จริงหรือไม่? เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile ตอกเสร็จไม่ต้องรอ ก่อสร้างต่อได้เลย

จริงหรือไม่? เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile ตอกเสร็จไม่ต้องรอ ก่อสร้างต่อได้เลย อุตสาหกรรมก่อสร้างจัดเป็นอุตสาหกรรมที่สำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในประเทศ โดยเกี่ยวกับข้องกับผู้ประกอบการที่ต้องการสร้างโรงงานใหม่ และการจ้างงานจำนวนมากในแต่ละ ซึ่งผลผลิตที่ได้ประกอบด้วยสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ ที่เอื้อต่อการดำรงชีวิต เช่น ที่อยู่อาศัย โรงงาน โรงเรียน สถานที่สาธารณะ เป็นต้น จะเห็นได้ว่าอุตสาหกรรมก่อสร้างถึงมีความสำญมาก ทั้งนี้ในการก่อสร้างพื้นที่ต่าง … Read More

การรับแรงดึงของเสาเข็ม เมื่อเสาเข็มวางอยู่ในดิน

การรับแรงดึงของเสาเข็ม เมื่อเสาเข็มวางอยู่ในดิน เสาเข็มถือเป็นวัสดุที่ใช้กันแพร่หลายมากในนการรับน้ำหนักของโครงสร้าง โดยเสาเข็มจะรับน้ำหนักของฐานรากก่อน แล้วจึงค่อยถ่ายน้ำหนักให้ดิน ซึ่งต่างจากฐานรากแบบแผ่ที่ดินจะรับน้ำหนักจากฐานนรากโดยตรง การออกแบบโครงสร้างมาให้มีการตอกเสาเข็ม เนื่องจากดินที่อยู่ตื้นรับน้ำหนักได้น้อย ทำให้ต้องใช้เสาเข็มเพื่อรองรับน้ำหนักของโครงสร้าง ทั้้งนี้การรับแรงดึงของเสาเข็ม เมื่อเสาเข็มวางอยู่ในดินเราถึงต้องทำการออกแบบให้มีเหล็กเดือย หรือ DOWEL BAR ให้อยู่ในบริเวณรอยต่อระหว่างโครงสร้างเสาเข็มและฐานราก หากไม่มีการใส่เหล็กเดือยหรือ DOWEL BAR อยู่ในบริเวณรอยต่อของโครงสร้างเสาเข็มและฐานรากก็จะทำให้ตัวโครงสร้างเกิดการทรุดตัวได้ถ้าเกิดภัยภิบัติทางธรรมชาติ หรือ … Read More

เลือกเสาเข็มต่อเติมอาคาร ไม่ให้กระทบโครงสร้างเดิม

เลือกเสาเข็มต่อเติมอาคาร ไม่ให้กระทบโครงสร้างเดิม การก่อสร้างเพื่อต่อเติมอาคารอย่าลืมว่าต้องคำนึงถึงผลกระทบของส่วนโครงสร้างเดิม เพราะถ้าวางแผนอย่างไม่ถูกต้องแทนที่่จะได้ต่อเติมกลับต้องมานั่งซ่อมแซมโครงสร้างเดิม เสียทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย ดังนั้นเพื่อไม่ให้การต่อเติมอาคารมีผลกระทบต่อการใช้งานในระยะยาว ควรจะให้ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรเป็นผู้ออกแบบวางแผนการต่อเติม เพื่อป้องกันการทรุดตัวของโครงสร้างในอนาคต ทั้งนี้เสาเข็มที่เลือกใช้ควรมีเครื่องหมายมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 เพื่อให้แน่ใจว่าสามารถรับน้ำหนักของโครงสร้างทั้งหมดได้เป็นอย่างดี ภูมิสยามขอแนะนำ “เสาเข็มสปันไมโครไพล์” เสาเข็มมีลักษณะเป็นรูกลมกลวงตรงกลางเพื่อการระบายดิน และมีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคนกรีตโดยรอบ เพื่อให้เสาเข็มมีความหนาแน่นและแข็งแรง นอกจากนี้ยังประหยัดเวลาในการติดตั้ง และสามารถรับน้ำหนักได้ทันที … Read More

รู้ทันการเรื่องเลือกใช้เสาเข็มที่เหมาะกับงานสร้างใหม่ 

รู้ทันการเรื่องเลือกใช้เสาเข็มที่เหมาะกับงานสร้างใหม่  การสร้างอาคารหอพักใหม่ มักมีให้เห็นอยู่บ่อย ๆ เพราะเป็นธุรกิจที่ลงทุนมากแต่ได้กำไรกลับคืนมาเร็วและระยะยาว แต่ถ้าหากอาคารที่สร้างใหม่นั้นเกิดการชำรุด ผุพังก็จะทำให้มีค่าใช้จ่ายให้การซ่อมแซมไม่จบไม่สิ้น เสียเวลา เสียทั้งเงิน การสร้างอาคารใหม่ จะต้องมีการออกแบบระบบฐานรากและเสาเข็มจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ที่มีประสบการณ์ของการออกแบบเป็นพิเศษ เพื่อให้ตัวโครงสร้างฐานรากสามารถรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย ดังนั้นการก่อสร้างใหม่แบบนี้คงจะหนีไปพ้นเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง ที่ใช้เทคนิคการดึงลวดรับแรงดึงแล้วเทคอนกรีตลง ทำให้เกิดแรงอัดในเสาเข็ม ช่วยลดปัญหาเสาเข็มแตกร้าว ป้องการการทรุดตัวของโครงสร้างได้ดี เสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile … Read More

สร้างใหม่ เพื่อฐานรากที่มั่นคง ป้องกันการทรุดตัวที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่โครงสร้าง

สร้างใหม่ เพื่อฐานรากที่มั่นคง ป้องกันการทรุดตัวที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่โครงสร้าง ในการก่อสร้าง ตั้งแต่เริ่มโครงการ ตลอดจนโครงการสร้างเสร็จ เรามักจะพบปัญหาที่ตามมาอยู่บ่อย ๆ สาเหตุอาจเกิดขึ้นได้หลายปัจจัย แต่สาเหตุหลัก ๆ แล้ว คือการออกแบบฐานรากที่ไม่มั่นคง เสาเข็มที่ใช้ไม่สามารถแบกรับน้ำหนักของโครงสร้างทั้งหมดได้ จึงทำให้โครงสร้างเกิดการทรุดตัวลง และมีรอยแตกร้าวเกิดขึ้นหลังจากสร้างเสร็จ ปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นทำให้เกิดความสายหาย คือผู้รับเหมาส่งงานล่าช้า และอาจจะไม่ได้รับความไว้วางใจจากเจ้าของโครงการ เพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดขึ้นเสาเขมที่ควรใช้ต้องได้รับมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง … Read More

สำรวจลักษณะของพื้นดินก่อนก่อสร้าง เพื่อป้องกันการทรุดตัวแก่โครงสร้าง

สำรวจลักษณะของพื้นดินก่อนก่อสร้าง เพื่อป้องกันการทรุดตัวแก่โครงสร้าง ฐานรากถือเป็นส่วนสำคัญที่สุดของโครงสร้างง และต้องให้ความสำคัญและใส่ใจเป็นพิเศษ หากไม่สามารถรับน้ำหนักของโคงสร้างได้จะเกิดความเสียหายเป็นอย่ามากกับการก่อสร้าง จึงต้องออกแบบฐานรากให้แข็งแรง ให้มีความเพียงพอที่จะรับน้ำหนักทั้งหมดของโครงสร้างได้ ทั้งนี้การจะก่อสร้างได้นั้น เพื่อให้ได้ฐานรากที่แข็งแรง ควรเจาะสำสภาพของดินดูว่าสามารถรองรับการสร้างอาคารได้หรือไม่ เพราะสภาพของชั้นดิน ณ บริเวณที่ตั้งของอาคารที่เราต้องการทำการออกแบบนั้นจะมีส่วนในการเปลี่ยนแปลงระดับค่าความรุนแรงของการสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวได้ เช่น ชั้นดินอ่อนในเขต กทม จะมีคุณสมบัติที่จะขยาย (AMPLIFY) ขนาดของคลื่นแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวที่จะเดินทางมาจากแหล่งต้นกำเนิดแผ่นดินไหว หรือ … Read More

ป้องกันการสร้างอาคารใหม่ไม่ให้ทรุดตัว กับการเลือกใช้วัสดุที่ทำให้ฐานรากมั่นคง

ป้องกันการสร้างอาคารใหม่ไม่ให้ทรุดตัว กับการเลือกใช้วัสดุที่ทำให้ฐานรากมั่นคง ปัจจุบันการสร้างอาคารใหม่ในประเทศไทย สถาปนิกและวิศวกรส่วนใหญ่จะต้องออกแบบให้โครงสร้างของอาคารมีฐานรากที่แข็งแรง โดยจะต้องคำนวณตั้งแต่ฐานราก คาน เสา แผ่นพื้น ไปจนถึงหลังคา เพื่อให้แน่ใจว่าเสาเข็มที่นำมาเป็นฐานรากสามารถรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย ไม่มีการทรุดตัวเกิดขึ้น เพราะถ้าหากโครงสร้างทรุดตัวลงอยู่ในเกณฑ์ที่ไม่สามารถรองรับน้ำหนักได้ อาคารที่สร้างขึ้นก็จะเกิดการแตกร้าว เสาเข็มที่เป็นฐานรากก็จะเกิดความเสียหาย ดังนั้นการเลือกใช้เสาเข็มจึงมีความจำเป็นอย่างมากที่ต้องให้วิศวกรผู้เชี่ยวแนะนำ เพื่อให้การออกแบบสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ เป็นไปอย่างละเอียดรอบครอบ ลดความผิดพลาดในการคำนวณการใช้เสาเข็ม ทั้งนี้เสาเข็มต้องผ่านการทดสอบการรับน้ำหนักของเสาเข็มด้วยวิธีพลศาสตร์ … Read More

ทำไมการตอกเสาเข็ม จึงต้องวิเคราะห์ทางสถิตยศาสตร์ และการวิเคราะห์ทางพลศาสตร์

ทำไมการตอกเสาเข็ม จึงต้องวิเคราะห์ทางสถิตยศาสตร์ และการวิเคราะห์ทางพลศาสตร์ การต่อเติมโครงสร้างอาคารส่วนใหญ่จะใช้เสาเข็มที่สามารถรับน้ำหนักได้มากในการก่อสร้างฐานราก เพื่อให้โครงสร้างเหล่านี้มีความมั่นคง ปลอดภัยในการใช้งาน นอกจากการสำรวจและออกแบบแล้ว การเลือกใช้เสาเข็มที่มีคุณภาพ มีมาตรฐานรับรองก็เป็นส่วนสำคัญอย่างยิ่ง เพราะการรับน้ำหนักของโครงสร้าง เสาเข็มจะเป็นตัวกลางในการรับน้ำหนักจากฐานรากก่อนแล้วจึงค่อยถ่ายเทลงสู่ชั้นดิน ซึ่งจะแตกต่างจากฐานรากที่ไม่มีเสาเข็มมารองรับน้ำหนัก เพราะดินจะรับน้ำหนักจากฐานรากโดยตรง เสาเข็มจึงเป็นส่วนสำคัญสำหรับงานก่อสร้าง หรืองานต่อเติม และเพื่อให้การออกแบบสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ เป็นไปอย่างละเอียดรอบครอบ ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม ควรให้วิศวกรที่เชี่ยวชาญมาวิเคราะห์ทางสถิตยศาสตร์ … Read More

“ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” รูปแบบการวิบัติของโครงสร้างแป้นหูช้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณช่วงประมาณต้นเดือนที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการอธิบายและหยิบยกนำเอาตัวอย่างของการคำนวณออกแบบเกี่ยวกับเรื่องโครงสร้างแป้นหูช้าง คสล หรือ RC CORBEL ให้กับเพื่อนๆ ได้รับชมกันไปแล้วในการโพสต์ครั้งนั้น ซึ่งก็มีข้อความเข้ามาในอินบ็อกซ์ส่วนตัวของผมในทำนองว่า เท่าที่อ่านจากคำอธิบายของผมและได้ศึกษาจากรายละเอียดของการเสริมเหล็กแล้วแสดงว่า รูปแบบของการวิบัติของโครงสร้างแป้นหูช้าง คสล นั้นจะไม่ได้เกิดเนื่องจากแรงเฉือนธรรมดาทั่วๆ … Read More

1 2 3 4 5 6 68