การเลือกใช้เสาเข็มให้มีขนาดที่เหมาะสม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากก่อนหน้านี้ผมเคยให้คำอรรถาธิบายไปว่า “หากว่าเราทำการเลือกใช้เสาเข็มให้มีขนาดที่เหมาะสม คือ เสาเข็มสามารถรับ นน บรรทุกได้ สามารถที่จะต้านทานการทรุดตัวในระดับที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ได้ โดยขนาดของเสาเข็มนั้นไม่จำเป็นที่จะต้องมีขนาดที่ใหญ่มากจนเกินไปก็จะเป็นการดีที่สุด เพราะ จะช่วยในหลายๆ เรื่องโดยเฉพาะเรื่องการประหยัดวัสดุในการก่อสร้างซึ่งในที่สุดจะไปมีผลต่อราคาค่าก่อสร้างโดยรวมนั่นเอง” และได้มีเพื่อนวิศวกรของผมท่านหนึ่งสอบถามผมว่า ได้โปรดช่วยอธิบายประเด็นๆ นี้เพิ่มเติมสักหน่อยจะได้หรือไม่ ? ในวันนี้ผมจึงได้ตัดสินที่จะนำคำถามนี้มาให้คำอธิบายเพิ่มเติมถึงประเด็นๆ นี้กับเพื่อนๆ ทุกๆ ท่านก็แล้วกันนะครับ … Read More

ต้องการต่อเติมบ้าน ต่อเติมข้างบ้าน แต่มีพื้นที่จำกัด แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile)

ต้องการต่อเติมบ้าน ต่อเติมข้างบ้าน แต่มีพื้นที่จำกัด แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เสาเข็มต่อเติมบ้าน ต่อเติมในบริเวณที่มีพื้นที่จำกัดได้ ไม่ทำให้พื้นที่ข้างเคียงเกิดความเสียหาย เพราะเสาเข็มผ่านการสปัน (SPUN) กรอ,หมุน,ปั่น เพื่อให้เนื้อคอนกรีตมีความหนาแน่นและมีความแข็งแกร่งสูง อีกทั้งยังมีรูกลมกลวงตรงกลาง เพื่อระบายดิน ทำให้ขณะตอกมีแรงสั่นสะเทือนน้อย ไม่กระทบโครงสร้างเดิม ต้องการเสาเข็มต่อเติมบ้าน … Read More

SURFACE ELEMENT นี้จริงๆ แล้วมันคืออะไร ?

วัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาตอบคำถามให้แก่รุ่นพี่วิศวกรที่ผมเคารพรักท่านหนึ่งที่ท่านได้กรุณาสอบถามผมมาเกี่ยวกับเรื่องโปรแกรม FINITE ELEMENT ที่มีชื่อว่า STAAD.PRO นะครับ โดยท่านตั้งคำถามได้น่าสนใจมากว่า “ระหว่าง PLATE ELEMENT กับ SURFACE ELEMENT นั้นมีความเหมือน หรือ แตกต่างกันอย่างไร?” ก่อนอื่นผมต้องขอพูดเหมือนเช่นเคยนะครับ ว่าพี่ตั้งคำถามได้น่าสนใจมากๆ เพราะ … Read More

การวิเคราะห์และการประเมินโครงสร้างโครงถัก (TRUSS)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง วิธีในการวิเคราะห์โครงสร้างว่าโครงสร้างที่เรากำลังทำการพิจารณาอยู่นั้นมีคุณลักษณะทางด้าน เสถียรภาพ (STABILITY) และ ในการวิเคราะห์โครงสร้างนั้นสามารถทำได้โดยวิธีอย่างง่าย (DETERMINATE) หรือ ต้องทำโดยวิธีอย่างยาก (INDETERMINATE) แก่เพื่อนๆ นะครับ โดยที่หัวข้อประเภทของโครงสร้างที่ผมตั้งใจนำมาฝากเพื่อนๆ ในวันนี้ จะเป็นการวิเคราะห์และการประเมินโครงสร้างโครงถัก (TRUSS) นั่นเองนะครับ ก่อนอื่นผมขออธิบายถึง สมการ … Read More

ต้องการตอกเสาเข็มภายในอาคาร ต่อเติมอาคาร แนะนำ เสาเข็มต่อเติม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile)

ต้องการตอกเสาเข็มภายในอาคาร ต่อเติมอาคาร แนะนำ เสาเข็มต่อเติม สปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ภูมิสยาม เป็นที่นิยมในการต่อเติม หรือเสริมฐานรากภายในอาคาร ตอกแล้วไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างเดิม หรือพื้นที่ข้างเคียง  เพราะเสาเข็มมีรูระบายดิน สะอาด สะดวก ปลอดภัย สามารถตอกได้ถึงชั้นดินดานเพราะต่อเชื่อมได้ เสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. … Read More

การหมุนฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ รวมไปถึงน้องวิศวกรท่านหนึ่งที่เคยฝากคำถามกับผมเกี่ยวกับเรื่อง วิธีการแก้ปัญหาในกรณีที่ในการทำงานการตอกเสาเข็มนั้นไม่เป็นไปตามที่ผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้ กันต่อจากโพสต์เมื่อวานของผมนะครับ โดยวิธีการนี้ คือ การหมุนฐานราก นั่นเองนะครับ และ ผมได้ทำการเขียนรูป ตย มาเพื่อที่จะทำการอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ได้รับชมกันในการอธิบายครั้งนี้ด้วยอีกเช่นเคยนะครับ โดยการที่เราจะทำการแก้ไขฐานรากตามวิธีการที่ผมจะแนะนำให้แก่เพื่อนๆ ตาม ตย ในวันนี้มี วิธีในการทำงาน และ … Read More

ปัญหาที่มักจะเกิดในทุกๆ ครั้งที่เราทำการออกแบบและก่อสร้าง โครงสร้างเหล็กโครงถัก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน วันนี้ผมอยากจะขออนุญาตมาตอบคำถามของเพื่อนๆ ที่ถามผมเกี่ยวกับโพสต์ก่อนหน้านี้ว่า “ในการออกแบบโครงเหล็กแบบนี้เรามักที่จะทำการตั้งสมมุติฐานว่าจุดต่อนั้นเป็นแบบยึดหมุน (PINNED) แต่ ในงานก่อสร้างจริงๆ เรามักจะทำการก่อสร้างโดยการเชื่อมโดยรอบ สิ่งนี้จะทำให้จุดต่อนั้นกลายเป็นแบบยึดแน่น (FIXED) หรือไม่ ?” และ อีกคำถามหนึ่งที่ถามในทำนองเดียวกันว่า “โครงถักในลักษณะนี้เวลาที่ทำการวิเคราะห์โครงสร้างเราจำเป็นที่ต้องทำการ RELEASE MOMENT ด้วยหรือไม่ ?” ก่อนอื่นผมต้องขออนุญาตกล่าวคำชมเชยน้องๆ … Read More

ตัวอย่างประเภทของฐานรากระบบต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากที่หลายๆ วันที่ผ่านมานั้นมีหลายๆ ครั้งที่ผมพูดถึงและแชร์ความรู้ให้กับเพื่อนๆ เกี่ยวกับเรื่องงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากระบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ระบบโครงสร้างฐานรากแบบตื้น (SHALLOW FOUNDATION) และ ระบบโครงสร้างฐานรากแบบลึก (DEEP FOUNDATION) โดยที่ก่อนหน้านี้ผมไม่ได้ทำการอธิบายถึงเรื่องประเภทของระบบฐานรากให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบก่อนนะครับ เอาเป็นว่าผมต้องขออภัยเพื่อนๆ มา ณ โอกาสนี้ด้วยนะครับ … Read More

วิธีแก้ไข กรณีที่เสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ เป็นผลทำให้ตำแหน่ง CENTER OF GRAVITY ของกลุ่มเสาเข็มในตัวโครงสร้างของฐานราก ไม่ตรงกันกับตำแหน่งของตอม่อ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้ให้แก่เพื่อนๆ ต่อจากเมื่อวานกันนะครับ อย่างที่ผมได้อธิบายไปเมื่อวานแล้วนะครับว่าโดยปกติแล้ว ผู้ออกแบบมักที่จะทำการออกแบบให้ตำแหน่ง CENTER OF GRAVITY กลุ่มของเสาเข็มนั้นตรงกันกับตำแหน่งของตัวเสาตอม่อ ในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขอมาพูดถึงวิธีในการแก้ไขสำหรับกรณีที่เสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ไปจนเป็นผลทำให้ตำแหน่ง CENTER OF GRAVITY ของกลุ่มเสาเข็มในตัวโครงสร้างของฐานรากนั้นไม่ตรงกันกับตำแหน่งของตอม่อนะครับ จริงๆ แล้วปัญหาที่อาจเกิดขึ้นที่จะมีความเกี่ยวข้องกับการใช้งานเสาเข็มตอกนั้นอาจมีด้วยกันมากมายหลายประการนะครับ เช่น แรงสั่นสะเทือนที่เกิดจากการตอกที่เกิดขึ้นกับอาคารข้างเคียง เสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ หรือ เสาเข็มเกิดการแตกหัก … Read More

หลักเกณฑ์ในการทำการพิจารณาเพื่อทำการคำนวณ แก้ไขงานโครงสร้างของฐานราก เมื่อเสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆท่าน ผมจะขออนุญาตมาแชร์ความรู้ให้แก่เพื่อนๆ ได้ทราบถึงกรณีที่เรามีการก่อสร้างงานวิศวกรรมโครงสร้างฐานรากและเกิดปัญหาเรื่องเสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์นะครับ โดยในวันนี้ผมจะขอทำการพูดถึงหลักเกณฑ์ในการทำการพิจารณาเพื่อทำการคำนวณเพื่อแก้ไขงานโครงสร้างของฐานรากเมื่อเสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ไปนะครับ ในสถานการณ์ปกติหากว่ามีการทำการก่อสร้างโครงสร้างฐานรากและจำเป็นที่จะต้องใช้ระบบโครงสร้างเป็นเสาเข็ม ไม่ว่าจะเป็น เสาเข็มตอก หรือ เสาเข็มเจาะ และ หากเสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ไปจากตำแหน่งเดิมที่ทางผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดไว้ เราจำเป็นที่จะต้องมีการคำนวณเพื่อทำการตรวจสอบรายการคำนวณซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วนหลักๆ นะครับ (1) ตัวโครงสร้างของเสาเข็ม ในบางครั้งเมื่อเสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ไป อาจจะทำให้แรงปฏิกิริยาในเสาเข็มนั้นเปลี่ยนแปลงไป ดังนั้นเราจึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำการการคำนวณและตรวจสอบแรงปฏิกิริยาในตัวโครงสร้างของเสาเข็มที่สภาวะการใช้งานว่าค่าๆ … Read More

1 25 26 27 28 29 30 31 68